บรรจุภัณฑ์อาหาร

Food Packaging

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถ ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติในงานด้านสาขาอุตสาหกรรม
เกษตร
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อ
ตนเองและสังคม
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนางาน
ด้านอุตสาหกรรมอาหาร โดยมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
1.4 เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรมอาหารให้สอดคล้องภูมิปัญญาท้องถิ่นตาม
ความเหมาะสม
2.1 เพื่อให้นักศึกษาตอบสนองความต้องการของประเทศเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารและ
ธุรกิจอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก
2.2 เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
2.3 ส่งเสริมการใช้ความรู้ แก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จริง
2.4 เพื่อเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
หลักการของบรรจุภัณฑ์ วัสดุบรรจุภัณฑ์และระบบการผลิต การตรวจสอบคุณสมบัติบรรจุภัณฑ์บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร การทำนายอายุการเก็บรักษาอาหารในบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ กฎหมายและมาตรฐานบรรจุภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการบรรจุสมัยใหม่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่อบรรจุภัณฑ์หลังการใช้งาน
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือการสร้างกลุ่มใน messenger facebook ได้ตลอดเวลา
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนโดยปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. ให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม ฝึกความเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
3. อบรมการมีความซื่อสัตย์ไม่ทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4.สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
1.ประเมินการตรงต่อเวลาของนักศึกษา
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4.พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย การซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 มีความรู้ในวิชาที่เกี่ยวข้อง สามารถบูรณาการความรู้
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ เข้าใจผลกระทบเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค
1. การสอนให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี
2. ให้มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นและสามารถบูรณาการความรู้
3.การเรียนแบบแก้ปัญหาจากประสพการณ์จริง (Problem-solving)
1.การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางและปลายภาค
3.ประเมินจากรายงานนักศึกษาที่จัดทำ
4. ประเมินการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 มีความสามารถค้นหาข้อเท็จจริง ประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิด และหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและใช้สรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ทางวิชาชีพ
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อมอภิปราย
2. การอภิปรายกลุ่มจากผลปฏิบัติ
3.การสอนแบบให้นักศึกษาได้ปฏิบัติจริง
1.ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการรายงานในชั้นเรียน
2. การสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 
4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองละรับผิดชอบในกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1 กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานกลุ่ม
4.2 ค้นคว้าหาข้อมูลจากการ สัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2. การประเมินการตอบของอาจารย์ 3. สังเกตจากพฤติกรรม ที่แสดงอกในการร่วมกิจกรรม
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะหืแปรความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรร
5.2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม
5.3 สามารถระบุเข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถาณการณ์โลกโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 จัดกิกรรมเรียนรู้ในรายวิชา
5.2 การนำเสนอการแก้ไขปัญหา
5.3 เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1.ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี
2. การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์ สถิติ
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
6.1 จัดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้ใช้เครื่อง อุปกรณ์และวิธีการให้ได้มาซึ่งขบวนการแก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารอย่างเหมาะสม
6.1.ประเมินจากความประสบความสำเร็จของงานตามระยะเวลากำหนด และการใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4
1 BSCFT127 บรรจุภัณฑ์อาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียน 1-7 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนและงานมอบหมาย บทปฏิบัติการและสอบ สอบทฤษฎี ทุกสัปดาห์ 5% 5% 30% 60%
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และ สมพร คงเจริญเกียรติ (2541). บรรจุภัณฑ์อาหาร
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (2546). คู่มือการใช้แก้วเพื่อการหีบห่อ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (2546). คู่มือการใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ
Jenkins, W.A. and Harrington, J.P. (1991). Packaging Foods with Plastics.
Farber, J.M. and Dodds, K.L. (1995). Principles of Modified-Atmosphere and sous vide Product Packaging.
เวปไซด์แนะนำวารสารต่างประเทศเพื่อ Journal the Science of Food and Agriculture, Food Chemistry, Asian journal of Food and Agro-industry, มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ประเมินการสอนโดยนักศึกษาตามแบบฟอร์มของสำนักประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย
1. รวบรวมข้อมูลจากการประเมิน 4 ส่วน โดยแบ่งคะแนนจากคะแนนทั้งรายวิชา 100 คะแนน เป็น

การทดสอบแต่ละหน่วยเรียนภาคทฤษฏี 60 คะแนนหรือ 60 % การสอบปฏิบัติและรายงานบทปฏิบัติการ 30 คะแนนหรือ 30 % จิตพิสัยในชั้นเรียน 5 คะแนนหรือ 5 % จิตพิสัยนอกชั้นเรียนเช่น การเข้าร่วมกิจกรรมสาขาหรือกิจกรรมมหาวิทยาลัย 5 คะแนนหรือ 5 %

2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้องมี

) คะแนนภาคปฏิบัติไม่ต่ำกว่า 60 % และ จิตพิสัยไม่ต่ำกว่า 50 % ) ผ่านการทดสอบรายหน่วยเรียนไม่ต่ำกว่า 50 %

3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน การประเมินผลแบ่งออกเป็น
1) พิจารณาผ่านกับไม่ผ่าน ตามเกณฑ์ผ่าน ผู้ไม่ผ่านคือได้คะแนนต่ำกว่า 50 หรือ 50% ตกหรือได้ F
2) ผู้ที่ผ่านจากข้อ 1 นำคะแนนมาแบ่งค่าระดับคะแนนแบบอิงเกณฑ์ ดังนี้คือ คะแนน 80
ขึ้นไปได้ A คะแนน 75-79 ได้ B+ คะแนน 70-74 ได้ B คะแนน 65-69 ได้ C+ คะแนน 60-64 ได้ C คะแนน 55-59 ได้ D+ คะแนน 50-54 ได้ D
ปรับปรุงเนื้อหางานสอนโดยการสืบค้นความรู้ใหม่เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต หนังสือ และปรับปรุงสื่อการสอน วิธีการสอนในทุกปีการศึกษา
พิจารณาความเหมาะสมของคะแนนนักศึกษารายบุคคลในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้โดยผู้สอนหรือทวนสอบโดยกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งสุ่มตรวจจาก คะแนนสอบ ข้อสอบหรือสัมภาษณ์นักศึกษา
อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ

พิจารณาผลการประเมินร่วมกันจากนักศึกษาและกรรมการประกันคุณภาพจากผลการสอนในภาคเรียนหรือปีการศึกษาที่สอนผ่านมาแล้ว เสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุงการเรียนการสอน ปฏิบัติการปรับปรุงการเรียนการสอนในภาคเรียนหรือปีการศึกษาต่อไป