ปฏิบัติงานอบชุบโลหะสำหรับครูช่างอุตสาหกรรม

Heat Treatment of Metal Practices for Industrial Professional

รู้และเข้าใจปฏิบัติการเกี่ยวกับกลไกการแข็งตัวของน้ำโลหะและการไหลตัวของน้ำโลหะ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโลหะวิทยางานหล่อ แบบหล่อ วัสดุทำแบบหล่อและวัตถุดิบในงานหล่อ ปฏิบัติเกี่ยวกับการหลอม โลหะนอกกลุ่มเหล็กและการหลอมโลหะกลุ่มเหล็ก สามารถวิเคราะห์ตำหนิ ในงานหล่อ มีเจตคติที่ดีต่องานทางด้านวิศวกรรมการหล่อโลหะ
เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมการหล่อโลหะที่เป็น กระบวนการโดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาผ่านกลวิธีการสอน มีการวางระบบการประเมินผลการเรียนรู้มาตรฐานผลการเรียนรู้ครบทั้ง 6 ด้านตามกรอบของ TQF 
เป็นการศึกษาปฏิบัติการเกี่ยวกับและเข้าใจปฏิบัติการเกี่ยวกับกลไกการแข็งตัวของน้ำโลหะและการไหลตัวของน้ำโลหะ มีความรูค้วามเข้าใจเกี่ยวกับโลหะวิทยางานหล่อแบบหล่อ วัสดุทำแบบหล่อและวัตถุดิบในงานหล่อ ปฏิบัติเกี่ยวกับการหลอมโลหะนอกกลุ่มเหล็กและการหลอมโลหะ กลุ่มเหล็ก สามารถวเิคราะห์ตำหนิในงานหล่อ มีเจตคติที่ดีต่องานทางด้านวิศวกรรมการหล่อโลหะ 
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมง/สัปดาห์  ห้อง 731
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  (4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม  2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น  3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
 
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่า  เป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้  เหมาะสมมากขึ้น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งต้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา  (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ ศึกษา  (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ  (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน  2. อภิปรายกลุ่ม  3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำ  ตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม  (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกไฃป้ญหาอย่าง เหมาะสม  (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตาม กาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล 
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม  (2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา  2. การออกไปปฏิบัติงานจริงในการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา  2. ประเมินจากปฏิบัติการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDIE919 ปฏิบัติงานอบชุบโลหะสำหรับครูช่างอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทุกสัปดาห์ ประเมินจาก - การตรงต่อเวลา - ความรับผิดชอบ - การมีวินัย - การเข้าร่วมกิจกรรม - พฤติกรรมที่แสดงออก ทุกสัปดาห์ 10%
2 1 - 5 ประเมินจาก - รายงานและคุณภาพของข้อมูลที่รายงาน - การนำเสนอ - การอภิปราย - การตอบข้อซักถามและทำแบบฝึกหัด - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - ทักษะการใช้ภาษา - ทักษะการใช้สื่อและเทคโนโลยี ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 9 30%
3 1 - 6 ประเมินจากการปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด ประเมินจากการปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด สัปดาห์ที 1-8 และ สัปดาห์ที 10-17 40%
4 1 , 2, 3 4 , 5, 6 ประเมินจากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 18 10% 10%
พีรพันธ์  บางพาน.  2534.  คู่มือปฏิบัติงานหล่อโลหะ 1.  เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่. J. T. H. Pearce. และ บัญชา  ธนบุญสมบัติ.  2542.  เทคโนโลยีและโลหะวิทยาของเหล็กหล่อผสม. กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. American Society for Metals.  1996.  ASM Handbook Volume 15 : Casting.  6th ed.  Materials Park, Ohio : ASM International. American Society for Metals.  1995.  ASM Handbook Volume 9 : Metallography and Microstructures.   6th ed.  Materials Park, Ohio : ASM International. Brown, John R., [editor].  2000.  Foseco Ferrous Foundryman’s Handbook.  Oxford : Butterworth Heinemann. Davis, J.R., [editor].  1998.  Metals Handbook.  2nd ed.  Ohio : ASM International. Flinn, Richard A.  1963.  Fundamentals of Metal Casting.  Reading, Massachusetts : Addison - Wesley Publishing Co. Fredrikson, H. and Hillert, M., [editors].  1985.  The Physical Metallurgy of Cast Iron.  New York : North – Holland. Harry Chandler-Heat Treater's Guide_ Practices and Procedures for Irons and Steels-Asm Intl (1995) The American Foundrymen’s Society.  1993.  Ductile Iron Handbook.  Illinois : the American Foundrymen’s Society. Walton, Charls F., [editor].  1981.  Iron Castings Handbook : Covering data on Gray, Malleable, Ductile, White, Alloy and Compacted Graphite Irons.  n.p. : Iron Castings Society.
มนัส  สถิรจินดา.  2529.  เหล็กกล้า (Steel).  กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. วีระพันธ์  สิทธิพงศ์.  2532.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 1.  กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา. สุภชัย  ประเสริฐสกุล.  มปป.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 4.  วิทยาเขตขอนแก่น. เอกสารสัมมนา.  ม,ป,ป.  งานหล่อโลหะ. Askeland, Donald R. and Webster, P.  1990.  The Science and Engineering of Materials.  2nd ed. London : Chapman & Hall. Baker, Hugh.  1992.  ASM Handbook Volume 3 : Alloy Phase Diagrams.  Ohio : ASM International.  Bramfitt, Bruce L. and Benscoter, Arlan O.  2002.  Metallographer’s Guide : Practices and Procedures for Irons and Steels.  Ohio : ASM International. Japanese Standards Association.  1999.  JIS Handbook : Ferrous Materials & Metallurgy.  Tokyo : Japanese Standards Association.        http://www.afsinc.org/        http://www.aluminiumcastings.org/        http://www.aluminum.org/        http://www.asminternational.org/        http://www.castaluminium.org/        http://www.chaski.org/        http://www.copper.org/        http://www.diecasting.org/        http://www.stainless-steel-world.net/        http://www.sfsa.org/        http://www.steel.org/
วีระพันธ์  สิทธิพงศ์.  2532.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 1.  กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา. สุภชัย  ประเสริฐสกุล.  มปป.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 4.  วิทยาเขตขอนแก่น. เอกสารสัมมนา.  ม,ป,ป.  งานหล่อโลหะ. Askeland, Donald R. and Webster, P.  1990.  The Science and Engineering of Materials.  2nd ed. London : Chapman & Hall. Baker, Hugh.  1992.  ASM Handbook Volume 3 : Alloy Phase Diagrams.  Ohio : ASM International. Bramfitt, Bruce L. and Benscoter, Arlan O.  2002.  Metallographer’s Guide : Practices and Procedures for Irons and Steels.  Ohio : ASM International. Japanese Standards Association.  1999.  JIS Handbook : Ferrous Materials & Metallurgy.  Tokyo : Japanese Standards Association.        http://www.afsinc.org/multimedia/MCDP.cfm?navItemNumber=512        http://www.aluminiumlearning.com/html/index_casting.html        http://aluminium.matter.org.uk/content/html/eng/default.asp?catid=&pageid=1        http://www.aluminiumsandcastings.com/casting-stamping-products.html        http://www.backyardmetalcasting.com/links.html        http://www.castingnb.com/index.html        http://www.cwmdiecast.com/        http://www.copperinfo.co.uk/        http://www.diecastingindia.net/aluminium-casting-machine-components-.html
-  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน       -  แบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา   -  สรุปผลการประเมินการสอน
-  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน -  ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา   -  การสังเกตการณ์ของทีมผู้สอน
-  การประชุมเชิงปฏิบัติการอาจารย์ผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน   -  การวิจัยชั้นเรียน
-  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา -  ทวนจากคะแนน  และงานที่มอบหมาย
 
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ข้อ 1 และข้อ 2 มาวางแผนเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพการสอน