การจำลองทางธุรกิจ

Business Simulation

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว  นักศึกษามีสมรรถณะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2.เพื่อให้นักศึกษาประยุกต์ความรู้สู่การปฏิบัติจริง 3.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการก่อตั้ง  วางแผน  ดำเนินการ  และควบคุมองค์กรธุรกิจ 4.เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้และทักษะทางด้านการบริหารจัดการ 5.เพื่อบ่มเพาะเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพของนักศึกษาในอนาคต
เพื่อให้เป็นวิชาชีพที่นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษาในห้องเรียน  นำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในองค์กรธุรกิจที่นักศึกษาได้ร่วมกันก่อตั้ง  วางแผน  ดำเนินการและควบคุม  ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ตรงในการปฏิบัติงานทางธุรกิจให้แก่นักศึกษา  เป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาก่อนเข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ  ภ่ายใต้การดูแลให้คำปรึกษาจากอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา  แก้ไข  บันทึก  
 
ศึกษาความรู้เบื้องต้นทางธรุกิจและการเป็นผู้ประกอบการ  มุ่งเน้นให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง  และฝึกปฏิบัติการทำงานร่วมกันเป็นทีม  และมีรายวิชาที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานธุรกิจ  ทั้งในเรื่องของการตลาด  การที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานธุรกิจ  ทั้งในเรื่องของการตลาด  การจัดการ  การผลิต  การเงิน  การจัดการทรัพยากรมนุษย์  และการติดต่อประสานงานโดยได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษา  แก้ไข
 
2  ชั่วโมงต่อสัปดาห์    
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.2 วิธีการสอน
1.3 วิธีการประเมินผล
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.2 วิธีการสอน
2.3 วิธีการประเมินผล
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.2 วิธีการสอน
3.3 วิธีการประเมินผล
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.2 วิธีการสอน
4.3 วิธีการประเมินผล
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.2 วิธีการสอน
5.3 วิธีการประเมินผล
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
 
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 1.สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
1.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ  ด้านการวางแผน  การจัดโครงสร้างองค์กร  การปฏิบัติการ  การควบคุมและการผลการดำเนินงาน  รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
 
1.การนำเสนอผลงาน  หรือโครงงานโดยการเลือกใช้ภาษา  การสื่อสารในบริบทต่างๆ เพื่อคิดวิเคราะห์  แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 คุณธรรม จริยธรรม อาจารย์ที่ปรึกษษตรวจสอบเอกสาร สังเกตพฤติกรรมและผลการปฏิบติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20% อาจารย์ที่ปรึกษษตรวจสอบเอกสาร สังเกตพฤติกรรมและผลการปฏิบติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 ความรู้ อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบเอกสาร สังเกตพฤติกรรมและผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20% สังเกตพฤติกรรมและผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทักษะทางปัญญา อาจารย์ที่ปรักษาตรวจสอบเอกสาร สังเกตพฤติกรรมและผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบเอกสาร สังเกตพฤคิกรรมและผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20% อาจารย์ สังเกตพฤคิกรรมและผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบเอกสาร สังเกตพฤติกรรมและผลการปฏิบัตงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
การจัดการธุรกิจ  การจัดการสำนักงาน  การบริหารทรัพยากรมนุษย์  การจัดการธุรกิจชุมชน  การวางแผนและการเป็นผู้ประกอบการ  
 
บทความทางเว็บไซด์ที่จัดทำโดยสุุถานศึกษาต่าง ๆ
บทความทางเว็บไซด์ที่จัดทำโดยสุุถานศึกษาต่าง ๆ    
1.ตอบแบบสอบถามเพื่อประเมินอาจารย์ผู้รับผิดชอบและกรรมการหลักสูตร  และประเมินรายวิชา 2.ให้ข้อเสนอแนะผ่่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์  ตามที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบและกรรมการหลักสูตรทำเป็นช่องทางสื่อสารกับนักศึกษา  
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินในรายวิชาธุรกิจจำลองมีกลยุทธ์ดังนี้ 2.1  การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาดดยการประชุมเพื่อนำเสนอข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ 2.2อาจารย์ที่ดูเลกิจกรรมภาคสนามโดยการประชุมเพื่อนำเสนอข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ 2.3พฤติกรรมในการเรียนรู้ของนักศึกษา  เช่น  การตรงต่อเวลา  การกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน  การเข้าร่วมกิจกรรมและการแต่งกาย   
กำหนดให้ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามที่  สกอ.กำหนด  ทุุกภาคการศึกษา  ให้ผู้สอนเข้ารับการอบรมกลยุทธ์การสอน  การวิเคราะห์ผู้เรียน  การวิจัยในชั้นเรียน  ในรายวิชาที่มีปัญหาอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา  มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข  
กำหนดให้มีการสอบุุถามนักศึกษา  หรือตรวจผลงานนักศึกษาและความเหมาะสมของการให้คะแนน  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาครวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ทุกภาคการศึกษาโดยการตรวจ  รายงาน  และการให้คะุแนนแก่นักศึกษา  
จัดให้มีระบบการทบทวนประสิทธิภาพของรายวิชา  โดยพิจารณาแผนการประเมินการสอนโดยนักศึกษา  คณะกรรมประเมินของหลักสูตร  การรายงานผลรายวิชาหลังการทวนสอบผลสัมฤทธิ์  ของอาจารย์นิเทศซึ่งเป็นกรรมการหลักสูตรประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์ วางแผนปรับปรุงกระบวนการกิจกรรมและรายละเอียดวิชา  และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแปนปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป