ทักษะวิชาชีพประมง 3

Practical Skills in Fisheries 3

1.  มีทักษะในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างเป็นระบบ
2.  เข้าใจกระบวนการสร้างอาชีพและรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และมีทักษะในการเพาะเลี้ยงและผลิตสัตว์น้ำตามที่ตนเองสนใจ เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้เมื่อจบการศึกษา
ฝึกทักษะวิชาชีพทางการประมงเพื่อสร้างประสบการณ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างเป็นระบบ เลือกฝึกปฏิบัติงานการผลิตสัตว์น้ำต่างๆ ที่นักศึกษามีความสนใจเป็นพิเศษ เพื่อให้เข้าใจกระบวนการสร้างอาชีพและรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
2 ชม.
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ
 มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อ
ให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- นักศึกษาต้องรู้จักแบ่งปันความรู้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
- ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด


- สังเกตพฤติกรรม
2.2 มีความรอบรู้
- บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการและทฤษฏี พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ


 - มอบหมายให้อ่านบทความวารสารทางวิชาการ พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบถามขณะปฏิบัติงานจริง
 - ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
3.1 สามารถวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
-ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจและสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ
-ประเมินจากการปฏิบัติจริงในภาคสนามโดยให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
4.1 ภาวะผู้นำ
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจใน  การทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการทำรายงาน และนำเสนองาน
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน ร่วมกับผู้อื่น
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
การสอนแบบกรณีศึกษาและการปฏิบัติจริง โดย


- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
 - ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ


 - ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
- ประเมินจากการปฏิบัติจริงในภาคสนาม


- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
6.1 ทักษะทางอาชีพ
การสอนแบบปฏิบัติ  โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะดำเนินงานการวางแผนและการเพาะเลี้ยสัตว์น้ำที่สนใจ
- ประเมินจากการปฏิบัติจริงในภาคสนาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลลและ ความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG313 ทักษะวิชาชีพประมง 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม -การเข้าชั้นเรียน -การตรงเวลา 1-16 10%
2 ด้านการเรียนรู้ 2.2 มีความรอบรู้ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การถาม-ตอบ ความถูกต้องในทางทฤษฎีที่นำมาปฏิบัติ ทุกสัปดาห์ 5%
3 ด้านทักษะทางปัญญา 3.1 สามารถวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ การฝึกปฏิบัติอย่างเป็นระบบ ทุกสัปดาห์ 25%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม ทุกสัปดาห์ 10%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร การนำเสนองาน/การถาม-ตอบ ทุกสัปดาห์ 10%
6 ด้านทักษะพิสัย 6.1 ทักษะทางอาชีพ การปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง ทุกสัปดาห์ 40%
1. หนังสือ หลักนิเวศวิทยา, คุณภาพน้ำทางการประมง
-
1. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น เว็บไซต์กรมประมง, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
2. เอกสารรายงานวิจัยของกรมประมง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
         4.1  ทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยแบบประเมินตนเองเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก ๆ 5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง