ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3

Practical Skills in Plant Science 3

ฝึกและสร้างความเชี่ยวชาญในการผลิตพืชอย่างมีระบบ
ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อสร้างความเชี่ยวชาญในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การสร้างทักษะด้านการขยายพันธุ์พืช การดูแลบำรุงรักษาดิน การใช้ปุ๋ย การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การจัดการเก็บเกี่ยวพืชประเภทต่างๆ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ข้อ 1.1.1 และ 1.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก ข้อ 1.1.2 และ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- ปฐมนิเทศนักศึกษา แจ้งจุดมุ่งหมายของการเรียนรายวิชานี้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คุณธรรม จริยธรรม ที่พึงปฏิบัติ ก่อนฝึกงาน - กำหนดตารางเวลาทำงานประจำวัน - กำหนดให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบของแผนกงานฟาร์มเช่นเดียวกับพนักงานประจำ - นักศึกษาบริหารตนเองให้เข้ากับกฎระเบียบของแผนกงานฟาร์ม - มอบหมายงานที่ต้องใช้ความพยายาม ความอดทน
- การสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการฝึกงาน ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินการแสดงออก ด้านคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และมีหลักฐานการแจ้งให้นักศึกษาทราบด้วยเอกสารอย่างน้อย 1 ครั้ง - การประเมินผลงานรายบุคคล (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจบันทึกการปฏิบัติงานของผู้เรียนซึ่งนำเสนอเป็นรายบุคคล - การลงเวลาปฏิบัติงาน ผู้สอนบันทึกรายชื่อผู้เข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการการสอน - การบันทึกจำนวนครั้งของการฝึกปฏิบัติงาน ผู้สอนทำการรวบรวมบันทึกรายชื่อผู้เข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการการสอนในสัปดาห์ที่ 18 ของการเรียน - การประเมินคุณภาพของผลงาน คุณภาพของผลงานที่ได้รับมอบหมายเรียบร้อย ครบถ้วน และสมบูรณ์ - ไม่มีการนำผลผลิตงานฟาร์ม อุปกรณ์ และเครื่องมือทางการเกษตรออกไปก่อนได้รับอนุญาต
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อ 2.1.1 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก ข้อ 2.1.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
- บรรยายและสาธิตการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานการเกษตรโดยใช้สื่อประสม - การจดบันทึกผลการปฏิบัติงาน - ศึกษาจากคู่มืองานฟาร์มที่ประจำแผนงานฟาร์ม - ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานจริงด้วยตนเองภายใต้การดูแลของอาจารย์หรือเจ้าหน้าที่ประจำแผนกงานฟาร์ม - นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการสอบถามแลกเปลี่ยนประสบการณ์การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานการเกษตรระหว่างนักศึกษา เจ้าหน้าที่ และอาจารย์ประจำแผนก หรือสืบค้นผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- การประเมินบันทึการฝึกงานรายบุคคล ผู้สอนตรวจบันทึกการฝึกงานของผู้เรียนซึ่งนำเสนอเป็นรายบุคคล - การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ผู้สอนประเมินการปฏิบัติงาน หรือ สอบปากเปล่า หรือ สังเกตและประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล  
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ ข้อ 3.1.1 และ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
- มอบหมายงานให้ปฏิบัติโดยให้นักศึกษามีกระบวนการคิด วิเคราะห์ การวางแผน และการจัดการให้เชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฏี
- การสอบปฏิบัติ ผู้สอนประเมินการปฏิบัติของผู้เรียน - การแสดงออกของนักศึกษาระหว่างการปฏิบัติงาน - สมุดบันทึกการฝึกงานซึ่งอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3. สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม ข้อ 4.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก ข้อ 4.1.1 4.1.3 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
จัดให้มีหัวหน้ากลุ่มเพื่อแบ่งงาน ควบคุมสลับหมุนเวียนนักศึกษาในกลุ่มให้เป็นหัวหน้า และมอบหมายงานให้ และติดตามผลจนกระทั่งผลงานบรรลุตามที่ได้รับมอบหมาย
- การสังเกตและประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานรายกลุ่ม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินการทำงานร่วมกัน มารยาททางสังคมที่ดี การทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมโดยมีการบันทึกผลการประเมินของผู้เรียน - การสังเกตและประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานรายบุคคล ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามของผู้เรียน
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 5.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก ข้อ 5.1.1 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
-  ให้นักศึกษาสืบค้นการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานการเกษตร และส่งรายงานผลการค้นคว้า
- การประเมินบุคคล (เอกสารรายงาน) - ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG103 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 1.1.3 4.1.1 สังเกตพฤติกรรมแสดงออกของนักศึกษาในการส่งงานตรงต่อเวลา เข้าชั้นเรียน ตรงต่อเวลา มีน้ำใจ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ไม่ทำผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย 1-17 5%
2 4.1.3 สังเกตการทำงานกลุ่ม 1-17 5%
3 2.1.1 2.1.3 ประเมินรายงานการปฏิบัติงาน 2-17 50%
4 3.1.1 3.1.2 สังเกตการณ์แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า มีไหวพริบฉับไว 5-17 30%
5 1.1 1.3 2.1 3.1 3.2 4.1 4.3 5.2 6.1 6.2 6.3 ประเมินรายงานผลการปฏิบัติงาน 1-17 10%
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิต ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุป วางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป