เทคโนโลยีการผลิตยางพารา

Para Rubber Production Technology

ภาคบรรยาย
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและความสำคัญของยางพารา
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการผลิต การตลาดและการใช้ยางของโลก
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสรีรวิทยายางพารา
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับพันธุ์ยางพาราและขนาดสวนยางพารา
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่และสภาพแวดล้อมการปลูกยางพารา
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมพื้นที่ วิธีปลูก และการดูแลรักษายางพารา
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรค แมลงศัตรูยางพารา และการป้องกัน
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการกรีด และการแปรรูปยางพารา
 
ภาคปฏิบัติ
- เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตยางพารา สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูก ตั้งแต่การเตรียมพื้นที่ วิธีปลูก การดูแลรักษา การกรีด และการแปรรูปยางพารา
- เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและการฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของยางพารา ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการผลิตและการแปรรูปผลิตยางพาราในสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและการใช้ประโยชน์ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสรีรวิทยาการเจริญเติบโต เทคโนโลยีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของยางพารา
      - จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาและสถานที่ให้นักศึกษาทราบ เป็นครั้งๆ ไป ตามความเหมาะสม
 
    จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์                   2 ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์            3 ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง                 5 ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา               - ชั่วโมง 
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
™1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
™1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-กระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
-ให้โอกาสนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
- ส่งเสริมการทำกิจกรรมกลุ่มที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
-  ประเมินความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ในงานปฏิบัติการ โดยแสดงออกต่อส่วนรวมดังนี้
1. ขั้นตอนการปฏิบัติการ ที่ถูกต้อง ตามเวลาที่กำหนดให้
2. มีการเรียนสม่ำเสมอ ตรงเวลา
3. จัดเตรียม คืน และเก็บอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน ให้ตรงตามหมวดวัสดุ ให้เป็นระเบียบ
4. ทำความสะอาด คัดแยก กลบฝัง ทิ้งวัสดุ ของเสีย จากการทำงานให้ถูกต้องต่อสิ่งแวดล้อม
š2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
2.การสอนแบบการตั้งคำถาม
3.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
1. การนำเสนองานอภิปรายเป็นกลุ่ม
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. รายงานการปฏิบัติการ สรุปวิจารณ์ด้านความรู้ วิชาการ
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
2.การสอนแบบปฏิบัติ
1.ปฏิบัติการโดยกรีดยางในพื้นที่สวนยาง และนำผลผลิตมาประเมินลักษณะน้ำยาง
2. การประเมินตนเอง
3. การประเมินโดยเพื่อน
4. การนำเสนองาน
5. ข้อสอบอัตนัย
6. ข้อสอบปรนัย
š4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
™4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 กิจกรรมกลุ่มสร้างความสัมพันธ์ต่อสังคมและกลุ่ม
1. การประเมินโดยอาจารย์และเพื่อน โดยสังเกตสื่อการกันในระว่างการทำงานกลุ่ม
2 มีการวางแผนร่วมกัน แบ่งกันทำงาน เพื่อเตรียมวัสดุเพื่อปฏิบัติการกรีดยางพารา
3. ร่วมกันสรุป เสนอแนวทางในการเลือกจัดการสภาพแวดล้อมที่เหมาะต่อการผลิตยางพารา
4. รายงาน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ใช้  Power point การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการนำเสนองานโดยการบรรยาย
1.การนำเสนองานที่สามารถหาข้อมูลจากระบบสื่อสารทางไกล(อินเตอร์เน็ต) 2.ค้นหา ข้อมูลความสำคัญทางเศรษฐกิจ ปริมาณการผลิต นำเข้า และส่งออกผลผลิตยางพาราของประเทศไทย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCAG145 เทคโนโลยีการผลิตยางพารา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 การแสดงความคิดเห็น/พฤติกรรมในชั้นเรียน ความรับผิดชอบในการทำงาน 1-8 และ 10-16 5%
2 1, 2 และ 6 งานมอบหมายค้นคว้าปริมาณ มูลค่า และรูปแบบการนำเข้าและส่งออกยางพาราของไทย งานศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ยางพารา งานเก็บเกี่ยวผลผลิตยางพารา 4,5 และ 15 5%
3 1, 2 และ 3 สอบกลางภาค 9 30%
4 รายงานและการนำเสนอผลงานการปฏิบัติการที่ได้รับมอบหมาย 16 15%
5 4, 5 และ 6 สอบปลายภาค 17 30%
6 การเข้าชั้นเรียน 1-8 และ 10-16 5%
7 quiz 1-8 และ 10-16 5%
ชวลิตร หุ่นแก้ว, ชำนาญ เอี่ยมทัต และพัฒนา นรมาศ. 2541. การกรีดยาง. เอกสารเผยแพร่ที่ 30 กองเกษตรสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร.
นุชนารถ กังพิศดาร. 2547. ประวัติและความสำคัญของยาง. เอกสารวิชาการ ยางพารา. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
สมเจตน์ ประทุมมินทร์, ประสาท เกศวพิทักษ์ และประพาส ร่มเย็น. 2547. แผนที่ศักยภาพการผลิตยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร.
Land Development Department. 1973. Detailed. Reconnaissance soil map of Songkhla province. Provincial map series no.18. Ministry of Agriculture and Cooperative. Bangkok. Leong
T.T. and K.Kannan. 1994. Zero burning in rubber replanting. Soil Science Conference Malaysia. 1994, 30.
Pushparajah, E. 1977. Nutrition status and fertilizer requirement of Malaysian soils for Hevea brasiliensis. D. Sc. Thesis, Univ, of Ghent, Belgium.
Thainugul, W. 1986. Soil and leaf analysis as a basis of fertilizer recommendations for Hevea brasiliensis in Thailand. D. Sc. Thesis, Univ. of Ghent, Belgium.
 
กรมพัฒนาที่ดิน. 2548. ยางพารา. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
กรรณิการ์ ธีระวัฒนสุข. 2547. พันธุ์ยาง. เอกสารวิชาการ ยางพารา. กรม  วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
       การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     - การสะท้อนแนวคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้
     - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ผลการสอบ
  - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- มีการการสอบย่อยโดยใช้โปรแกรม QUIZZ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจท้ายการเรียนการสอน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่ม  ตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
  - ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา
  - การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
  - อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป