การออกแบบสร้างสรรค์

Creative Design

เข้าใจเกี่ยวกับการใช้แนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก ทรัพย์สินทางปัญญา นวัตกรรมทางความคิด ความคิดสร้างสรรค์ ขอบเขตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และทักษะการคิด อัจฉริยภาพท้องถิ่น อัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม แนวทางการทำ  แนวทางการทำ Creative Mapping การนำเสนอภาพลักษณ์สินค้า และการพัฒนาภาพลักษณ์ตราสินค้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับการใช้แนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก ทรัพย์สินทางปัญญา นวัตกรรมทางความคิด ความคิดสร้างสรรค์ ขอบเขตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และทักษะการคิด อัจฉริยภาพท้องถิ่น อัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม แนวทางการทำ  แนวทางการทำ Creative Mapping การนำเสนอภาพลักษณ์สินค้า และการพัฒนาภาพลักษณ์ตราสินค้า ในการนำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โครงงานเซรามิก และยังสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพการรับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก และนักออกแบบเซรามิก
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้แนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก ทรัพย์สินทางปัญญา นวัตกรรมทางความคิด ความคิดสร้างสรรค์ ขอบเขตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และทักษะการคิด อัจฉริยภาพท้องถิ่น อัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม แนวทางการทำ  แนวทางการทำ Creative Mapping การนำเสนอภาพลักษณ์สินค้า และการพัฒนาภาพลักษณ์ตราสินค้า
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวิยัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
 
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา

               2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา                2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวของ
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยาการพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1   ทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและ ปลายภาคเรียน
2.3.3   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4  ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.5  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
2.3.6  ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน
2.3.7  ประเมินจากการฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืนค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้วิเคราห์สถานการณ์จำลองและสถานณการณ์จริง แล้วนำเสนอในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
               6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
               6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
5.2.1   มอบหมายงานให้ปฏิบัติด้วยตนเอง
5.2.2   มอบหมายงานให้ปฏิบัติและสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู่ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตรัหนักในคุณณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพนธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BTECE145 การออกแบบสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.1,3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบกลางภาค 15% สอบปลายภาค 15%
2 5.1,5.2,6.1,6.2,6.3 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1,1.2,1.3,4.1,4.2 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
อภิสิทธิ์ ไส่สัตรูไกล.2555. Creative City เมื่อความมั่งคั่งสร้างจากเมือง. ดับเบิ้ลยูพริ้นท์ จำกัด: กรุงเทพมหานคร.
John Howkins.2553. นิเวศของความสร้างสรรค์ :ที่ซึ่งการคิดกลายเป็นงาน.อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พัลลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน) : กรุงเทพมหานคร.
 
http://www.creativechiangmai.com/
 
http://www.deskmag.com/th/what-is-coworking-001
 
www.creativethailand.org
 
https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_mar_10/pdf/23-28.pdf
 
http://www.etatjournal.com/mobile/index.php/menu-read-tat/menu-2011/menu-2011-apr-jun/107-22554-creative-economy
 
http://www.okmd.or.th/
 
https://www.slideshare.net/JeejeePapattha/creative-economy-24699624
 
https://www.ipthailand.go.th/th/home.html
 
http://www.tcdc.or.th/articles/business-industrial/5422/#Creative-Economy--งดงาม-เพื่อความอยู่รอดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ไทย
 
https://chiangmaidesignweek.com/#/program/detail/301
 
https://www.sasimasuk.com/16761107/9 -ทักษะการคิดแบบต่างๆ-9-thinking-skills
 
https://www.im2market.com/2017/11/19/4655
 
https://www.wynnsoftstudio.com/ อัตลักษณ์_เอกลักษณ์
 
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์