คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Mathematics

1. เพื่อศึกษาฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน 2. เพื่อศึกษาการวิเคราะห์เวกเตอร์ 3. เพื่อศึกษาอนุกรมฟูริเยร์ 4. เพื่อศึกษาอินทิกรัลฟูริเยร์ 5. เพื่อศึกษาผลการแปลงฟูริเยร์ 6. เพื่อศึกษาผลการแปลงลาปลาซ 7. เพื่อศึกษาผลการแปลง Z 8. เพื่อประยุกต์ใช้ในทางทางวิศวกรรมไฟฟ้า
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับการเรียนการสอน และสามารถนำไปใช้ในการเรียนในวิชาแกนทางวิศวกรรมไฟฟ้าได้
ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน วิเคราะห์เวกเตอร์ อนุกรมฟูริเยร์ อินทิกรัลฟูริเยร์ ผลการแปลงฟูริเยร์ ผลการแปลงลาปลาซ ผลการแปลง Z และการประยุกต์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
-  อาจารย์ประจำวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ   -  อาจารย์ประจำวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม 2. ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง 2. ประเมินจากแบบทดสอบของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง 3. ประเมินจากการขานชื่อเพื่อให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 4. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
 
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้ 3. ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จำลอง
1. ประเมินจากการทดสอบย่อย 2. สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าศูนย์การเรียนรู้ 3. สังเกตุพฤติกรรมขณะทำแบบทดสอบย่อย
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
 
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction) 2. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1. โดยการสังเกตุผลการแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จริง 2. ทดสอบการแก้ไขปัญหาสมมุติโดยใช้ปัญหาจากสถานการณ์จริง
 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
1.มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อ ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม 2. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming ) 3. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม 4. ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1. ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ   พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 3. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีโดยการทำแบบทดสอบ 4. ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ส่งเสริมการค้นคว้า  เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง  และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 3. ส่งเสริมการใช้งานภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร
1. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน 2. ประเมินจากเอกสารรายงานและการนำเสนอผลงาน 3. สังเกตุการใช้งานภาษาของนักศึกษาที่ใช้ในการสื่อสาร
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างด
1. นำงานบริการวิชาการ และประสบการณ์ในงานอุตสาหกรรมมาถ่ายทอดในชั้นเรียน 2. จัดแบ่งกลุ่มในการทดลอง เครื่องมือและชุดปฏิบัติ ออกเป็นกลุ่ม
1. ทดสอบภาคทฤษฎี 2. ทดสอบภาคทฤษฎี 3. การนำเสนองานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1..คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1 ENGEE102 คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-4 1-7 8-11 11-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1-14 -การทำงานกลุ่มและผลงาน -การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอกภาค 20%
3 1-14 -การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. O’Neil, P. V., Advanced Engineering Mathematics, Thomson Learning, Inc.,5th ed., 2003 2. Erwin Kreyszig., Advanced Engineering Mathematics, John Wiley & Sons, Inc., 2003 3. มงคล เดชนครินทร์, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 1,    2536 4. นิรันดร์ คำประเสริฐ, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 1 อนุกรมฟูเรียร์และฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์ม,     ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, พิมพ์ครั้งที่ 1 , 2537 5. นิรันดร์ คำประเสริฐ, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 3 การวิเคราะห์เชิงซ้อน เล่ม 1,     ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2537 6. นิรันดร์ คำประเสริฐ, วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้าและวิศวกรรมไมโครเวฟ เล่น1,    ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2545 7. ผศ.ดร.ศรวัฒน์ ชิวปรีชา, Matlab สำหรับการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์วิศวกรรม,    คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไม่มี
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ