การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก

Timber and Steel Structural Design

1.1 เพื่อให้เข้าใจหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
1.2 เพื่อให้สามารถคำนวณ ออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์ อาคารรับแรงดัดและแรงในแนวแกนรวมกัน คานประกอบขนาดใหญ่ออกแบบรอต่อ ออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง
1.3 เพื่อให้มีคุณธรรมและจริยธรรมในการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อม ในการนำความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้เป็นพื้นฐานการออกแบบโครงสร้างไม้เหล็ก           
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็กเหล็ก การออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์อาคารรับแรงดัดและแรงในแนวแกนรวมกัน การออกแบบรอยต่อ การออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง           
1 ชั่วโมง เฉพาะรายที่ต้องการและแจ้งนัดหมาย
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
7 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
8 .มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ Wed-board
1. การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก 2. ออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์อาคารรับแรงดัดและแรงใน แนวแกนรวมกัน 3. ออกแบบรอยต่อ การออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง 4. เห็นความสำคัญของวิชาการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก               
1. บรรยาย ยกตัวอย่าง ร่วมกับการสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 2. เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ               
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี               
. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 2. อภิปรายกลุ่ม 3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                   2. วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน                   3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน                       2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม                       3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม กำหนดเวลา               
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา                      2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล                      3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด                       2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม                       3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข                      2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน                      3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา                      4. พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเอง                      5. ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ                      2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน การจัดทำแผนการสอนและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม                      2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCV005 การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 9 35%
2 สอบปลายภาค 17 40%
3 ผลงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม.ในกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
ศ.ดร.วินิต ช่อวิเชียร.การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก. กรุงเทพ
-
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในรายวิชา           
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา           
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้                    1. การสังเกตการณ์ระหว่างเรียนของผู้สอน                    2. ผลการเรียนของนักศึกษา                    3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้                       1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร                       2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม           
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยการ ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4