คุณลักษณะสมบัติและตำหนิของเซรามิก

Characteristic Properties and Defects of Ceramics

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ องค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของเซรามิก องค์ประกอบ ทางแร่วิทยา ลักษณะเฉพาะของผิวพื้น รูปร่างและขนาดอนุภาค โครงสร้างและรูพรุน ความหนาแน่นและความหนืด พื้นผิวและการปรากฏของสีปัญหาต าหนิบนผลิตภัณฑ์ เซรามิกที่เกิดจากวัตถุดิบและกระบวนการผลิต การวิเคราะห์ปัญหา การป้องกันและแก้ไข ปัญหาต าหนิ การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซรามิก การคัดแยกระดับ คุณภาพผลิตภัณฑ์เซรามิก 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของเซรามิก องค์ประกอบทางแร่วิทยา ลักษณะเฉพาะของผิวพื้น รูปร่างและขนาดอนุภาค โครงสร้างและรูพรุน ความหนาแน่นและความหนืด พื้นผิวและการปรากฏของสี เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การเตรียมโครงงานรายบุคคล และยังสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ องค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของเซรามิก องค์ประกอบ ทางแร่วิทยา ลักษณะเฉพาะของผิวพื้น รูปร่างและขนาดอนุภาค โครงสร้างและรูพรุน ความหนาแน่นและความหนืด พื้นผิวและการปรากฏของสีปัญหาต าหนิบนผลิตภัณฑ์ เซรามิกที่เกิดจากวัตถุดิบและกระบวนการผลิต การวิเคราะห์ปัญหา การป้องกันและแก้ไข ปัญหาต าหนิ การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซรามิก การคัดแยกระดับ คุณภาพผลิตภัณฑ์เซรามิก 
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ องค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของเซรามิก องค์ประกอบ ทางแร่วิทยา ลักษณะเฉพาะของผิวพื้น รูปร่างและขนาดอนุภาค โครงสร้างและรูพรุน ความหนาแน่นและความหนืด พื้นผิวและการปรากฏของสีปัญหาต าหนิบนผลิตภัณฑ์ เซรามิกที่เกิดจากวัตถุดิบและกระบวนการผลิต การวิเคราะห์ปัญหา การป้องกันและแก้ไข ปัญหาต าหนิ การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซรามิก การคัดแยกระดับ คุณภาพผลิตภัณฑ์เซรามิก 
บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการทดลองวัตถุดิบทางเซรามิก
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากน้ำดินหลังการเผา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1)  มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า                                   
(2)  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                   
(3)  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
 ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน  สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้าน คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ 6. ด้านทักษะ พิสัย (ทักษะ วิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTECE148 คุณลักษณะสมบัติและตำหนิของเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คาบที่1-7 คาบที่ 9-16 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 20 % 20 %
2 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 50 %
3 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักโอเดียนสโตร์,2539
2. ดรุณี วัฒนศิริเวช และสุธี วัฒนศิริเวช. การวิเคราะห์แร่ดิน เคลือบ และตำหนิในผลิตภัณฑ์เซรามิก. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
3. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. รวมสูตรเคลือบเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2537.
4. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2541.
5. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. สีเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2546.
6. “วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ”, ปี 43 ฉบับที่ 137 มกราคม 2538, หน้า 3 – 4.
7. Lawrence W.G., (1972), “Ceramic Science for the Potter”, United States of Amerlica, 142-168.
8. Mills M., (2008) “Surface Design for Ceramics”, New York, 96-104.
9. Kingery W.D., Bowen H.K. and Uhlmann D.R., (1976), “Introduction to ceramics”, 2nd ed, New York : John Wiley
and Sons Press, 587-593, 816-909.
10. Tristram F., (1996), “Single Firing”, A&C Black (Publishers) Limited.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์