ทฤษฎีโครงสร้าง

Theory of Structure

รู้เกี่ยวกับพื้นฐานในการวิเคราะห์โครงสร้างการวิเคราะห์แรงภายในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟเส้นอิทธิพลในคานการหาการโก่งตัวของคานแบบดีเทอร์มิเนทโดยวิธีพื้นที่โมเมนต์และวิธีคานเสมือนการวิเคราะห์คานต่อเนื่องโดยใช้ทฤษฎีสมการสามโมเมนต์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้   ความเข้าใจ        ในการวิเคราะห์โครงสร้าง  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานในการวิเคราะห์โครงสร้างการวิเคราะห์แรงภายในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟเส้นอิทธิพลในคานการหาการโก่งตัวของคานแบบดีเทอร์มิเนทโดยวิธีพื้นที่โมเมนต์และวิธีคานเสมือนการวิเคราะห์คานต่อเนื่องโดยใช้ทฤษฎีสมการสามโมเมนต์
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

1.1.5     มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณ
ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก มอบหมายเอกสารอ่านประกอบ ภาพ วีดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนเพื่อเพิ่มเติมประสบการณ์ มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน  กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล

บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา การกระทำผิดจรรยาบรรณวิศวกร อภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
สามารถวิเคราะห์โครงสร้างแบบดิเทอร์มิเนทเพื่อหาแรงปฏิกิริยา  แรงเฉือน  โมเมนต์ดัด
ในคานและโครงข้อแข็ง  คำนวณวิเคราะห์แรงภายในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟ  อินฟูเอ็นไลน์ในคานและโครงข้อหมุน  การขจัดเชิงมุมและการโก่งของโครงสร้างโดยวิธีคานเสมือน วิธีงานเสมือน วิธีพลังงานความเครียด และวิธีแผนภูมิวิลเลียต-มอร์   การวิเคราะห์โครงสร้าง แบบอินดิเทอร์มิเนทโดยวิธีสมมติการเปลี่ยนรูปของโครงสร้าง
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีนำไปแก้ปัญหาโจทย์
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างอาคารผิดพลาด
การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  การวิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้วิชาทฤษฎีโครงสร้างที่เหมาะสม
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดผลตามจุดประสงค์การสอน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น อ่านบทความงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  การใช้ทฤษฎีที่เรียนมาแก้ปัญหาโจทย์ที่นักศึกษาสนใจ ต้องการทราบคำตอบ และมีวิธีตรวจสอบความถูกต้อง
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล  คิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room ทักษะในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นทางสังคมออนไลน์
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคาระห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสาระสนเทศ การจัดการ เรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCV003 ทฤษฎีโครงสร้าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หมวด 4 (1.3,2.3,3.3,4.3) สอบกลางภาค บทที่ 1-4 สอบปลายภาค บทที่ 5-7 และข้อสอบทบทวนปรนัย 4 ตัวเลือก 9 17 40% 40%
2 หมวด 4 (1.3,2.3,3.3,4.3,5.3) –งานที่มอบหมายครั้งที่ 1 ให้ค้นคว้าหาโครงสร้างที่นศ.ประทับใจ เขียนแบบจำลอง –งานที่มอบหมายครั้งที่ 2 ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงปฏิกริยาด้วยโปรแกรม AutoCad –งานที่มอบหมายครั้งที่ 3 ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงปฏิกิริยา แรงเฉือน และโมเมนต์ดัด ด้วยโปรแกรม AutoCad ตรวจคำตอบด้วยการคำนวณ –งานที่มอบหมายครั้งที่ 4 ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงภายในโครงข้อหมุน ด้วยโปรแกรม AutoCad ตรวจคำตอบด้วยการคำนวณ –งานที่มอบหมายครั้งที่ 5 ทำรายงานการหาระยะการโก่งตัวโครงข้อหมุนโดยวิธีวิลเลียต-มอร์ ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงภายในโครงข้อหมุน ด้วยโปรแกรม AutoCad ตรวจคำตอบด้วยการคำนวณ ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 หมวด 4 (1.3) หมวด 4 (2.3,3.3,4.3,5.3) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน อภิปราย เสนอความคิดเห็นในเวบบอร์ด ตลอดภาคการศึกษา 10%
วรพรรณ  นันทวงศ์. ทฤษฎีโครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 1.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา                            ภาคพายัพ  คณะวิศวกรรมศาสตร์  สาขาวิศวกรรมโยธา, 2549.
1.  Anderson, P., Nordby, G.M. Introduction to Structural Mechanics. New York :      The Ronald Press Company, 1960. 2.  Arbaby, F. Structural Analysis and Behavior. Singapore : Mc Graw -  Hill, 1991. 3.  Hibbeler, R.C. Structural Analysis. 5th ed. New Jersey : Prentice – Hall, 2002. 4.  Hsieh, Y.Y. Elementary of Structures. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice - Hall, 1970. 5.  Hsieh, Y.Y., Mau, S.T. Elementary Theory of Structures. 4th ed. New Jersey : Prentice   – Hall, 1995. 6.  Mc Cormac, J.C., Nelson, Jr.J.K. Structural Analysis : A Classical and Matrix Apporach.       2nd ed. Addison – Wesley Education Publishers Inc., 1996. 7.  Norris, C.H., Wilbur, J.H. and Utku, s. Elementary Structural Analysis. 3rd ed., Singapore :          Mc Graw – Hill, 1977. 8.  Tartaglione, L.C. Structural Analysis. Singapore : Mc Graw – Hill, 1991. 9.  Wang, C.K. Intermediate Structural Analysis. Singapore : Mc Graw – Hill, 1983. 10. West, H.H. Analysis of Structures an Integration of Classical and Modern Methods.       2nd ed. Singapore : John Wiley 4 sons, 1980. 11. ข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานคร. การควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ 2522.  หมวด 6. 12. ชาญชัย  จารุจินดา. ทฤษฎีโครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : 23 บุ๊คเซ็นเตอร์, 2535. 13. ตระกูล  อร่ามรักษ์. การวิเคราะห์โครงสร้าง 2. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์       มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ การพิมพ์, 2538. 14. นรินทร์  เนาวประทีป. การวิเคราะห์โครงสร้าง 1.  พระนคร กรุงเทพมหานคร : Physic Center,        2534. 15. บัญชา  สุปรินายก. การวิเคราะห์โครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร สมาคมส่งเสริม       เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) : บริษัท ประชาชน จำกัด, 2538.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนและผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ