ออกแบบบรรจุภัณฑ์คงรูปและคืนรูป

Flexible and Rigid Packaging Design

1.รู้ประวัติ ความเป็นมา และความหมายของบรรจุภัณฑ์
2. เข้าใจความสำคัญบทบาทหน้าที-ของบรรจุภัณฑ์
3.เข้าใจประเภท โครงสร้างของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ชนิดคืนรูปและชนิดคงรูป
4.เข้าใจงานกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ชนิดคืนรูปและชนิดคงรูป
5.ออกแบบบรรจุภัณฑ์
6.มีทัศนคติที่ดี ในการศึกษาวิชาออกแบบบรรจุภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ชนิดคืนรูป และชนิดคงรูป และนำไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต
        ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ การกำหนดขนาดและมาตราส่วน  การใช้เส้นและสัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ ภาพฉาย ภาพตัด ภาพสามมิติ
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียนในแบบออนไลน์
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของผู้เรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1    บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายและตรงต่อเวลา
 2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.3 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน
 ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน ให้มีการค้นคว้า ศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลา ใช้การเรียนการ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1 นำตัวอย่างผลงานบรรจุภัณฑ์ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ ในด้าน การออกแบบโครงสร้าง และ
กราฟิก รวมทั้งความเหมาะสมทางกายภาพ ของวัสดุที่ใช้ กับสินค้าบรรจุภายใน
3.2.2 นำเสนองานโดยการอภิปราย ผ่านระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์
3.3.1 สอบกลางและสอบปลายภาค
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
 4.1.2 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1 มอบหมายงาน ปลูกฝังการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และยอมรับการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
4.2.2 การนำเสนองาน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน 
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำ เสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในรูปแบบออนไลน์
5.3.1  ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
6.2.2 อธิบายทฤษฎีและมอบหมายงานปฏิบัติตามทฤษฎีมาใช้ 
6.2.3 มอบหมายงานให้ค้นคว้าข้อมูล เพื่อนำเสนอ
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID140 ออกแบบบรรจุภัณฑ์คงรูปและคืนรูป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 สอบกลางภาค 8 15%
2 3.3.1 สอบปลายภาค 17 15%
3 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2, 6.3.2, 6.3.3 ประเมินจากการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
4 1.3.1 การเข้าเรียนในระบบ ONLINEการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ:โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส์,2531
2. ปุ่น คงเจริญเกียรติ. บรรจุภัณฑ์อาหาร.กรุงเทพฯ:บริษัท แพคเมทส์ จำกัด,2541
3. พันธิพา จันทร์วัฒน์. การบรรจุหีบห่อ. วรสารบรรจุภัณฑ์. ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย.ปีที-1.ฉบับที-1,2527
4. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.คู่มือการใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ.
กรุงเทพฯ: ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย,2546
5.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์.
กรุงเทพฯ: ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย,2545
6. สุดาดวง เรืองรุจิระ. นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ประกายพรึก,2538
7. Akizuki Shigeru. Box by four Package Design. Rikuyo - Sha Phblishing,Inc ND.
9. Haresh Pathak. Structural Package Design . The Pepin Press,1998 ND.
ไม่มี
ไม่มี
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์