คอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนองานออกแบบอุตสาหกรรม

Computer Presentation for Industrial Design

ฝึกปฏิบัตินาเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้หลักการนาเสนองานออกแบบและ หลักการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ออกแบบสร้างสื่อและเว็บไซต์ เพื่อการนาเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ในรายวิชา BAAID125 คอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนองานออกแบบอุตสาหกรรม เป็นวิชาในหลักสูตรใหม่ 2560 ได้มุ่งเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะฝีมือในการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์แบบ 3 มิติ ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมีเดีย โดย สามารถนำไปประยุกต์กับการนำเสนอในงานออกแบบในสาขาต่าง ๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ในลักษณะสื่อมัลติมีเดีย และสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ และปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการทำงานและการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประกอบการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิกแต่ละประเภท กระบวนการออกแบบสร้างสรรค์และ การนำเสนองาน กระบวนการคิดวิเคราะห์ การวางแผนงาน
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า) ผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
- มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
 - สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- บรรยาย
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล. และความรับผิดชอบระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID125 คอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนองานออกแบบอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1), 1(2) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2-16 10
2 2(2), 2(4) 4(2), 4(3) ผลงานรายบุคคล / ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด / เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2-16 50
3 5(1), 5(2) 6(1), 6(2) การนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 2-16 20
4 2(2), 2(4) 3(3), 3(4) การสอบข้อเขียน (สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9,17 20
          ณัฐพงศ์ วณิชชัยกิจ.After Effects CS6 Essential.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ไอดีซี พรีเมียร์, 2556
          จุฑามาศ จิวะสังข์.สร้างสรรค์เอฟเฟ็กต์และตกแต่งงานวิดีโอ After Effects CS6 .กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย , 2556
          จุฑามาศ จิวะสังข์.Premiere Pro CS6 สำหรับผู้เริ่มต้น.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย , 2556
          ธันยพัฒน์ วงค์รัตน์.คู่มือการใช้งาน Premiere Pro CS6.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ สวัสดีไอที จำกัด, 2556
          Jun Sakurada (ซากุระดะ จุน).Basic InfoGraphic.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ พรีเมียร์, 2558
          มนัสสินี ล่าสันเทียะ. Workshop Illustrator CS6 Graphic Design.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย , 2556
 
         Jason Lankow, Josh Ritchie, Ross Crooks. 2555. Infographics The Power of Visual Storytelling.
Canada: Wiley.
         Kim Baer. 2550. Information Design Workbook. Massachusetts: Rockport Publishers, Inc.
Online resources:
HTML5 Tutorial
http://www.w3schools.com/html/default.asp
CSS Tutorial
http://www.w3schools.com/css/default.asp
https://unity3d-thailand.blogspot.com/
http://designfestival.com/web-page-anatomy.
-
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1    ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2    ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1    ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1
2.2    สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3    ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชออกแบบอุตสาหกรรม มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1    ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2    ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้

การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล