แคลคูลัส 3 สำหรับวิศวกร

Calculus 3 for Engineers

1. แก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์เบื้องต้นและการประยุกต์
2. แก้ปัญหาการหาปริพันธ์เชิงตัวเลขและปริพันธ์ไม่ตรงแบบ
3. เข้าใจการหาปริพันธ์ตามเส้นเบื้องต้น
4. เข้าใจอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์
5. คำนวณลำดับและอนุกรมของจำนวน
6. เข้าใจการกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน
7. เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาชีพและการศึกษาต่อระดับสูง
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
2. เพื่อให้นักศึกษาเห็นความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาที่เรียนและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับ สมการเชิงอนุพันธ์เบื้องต้นและการประยุกต์ ปริพันธ์เชิงตัวเลข ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ ปริพันธ์ตามเส้นเบื้องต้น อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน
วันอังคารและพฤหัสบดี เวลา 13.00น.–17.00 น. ภาคการศึกษาที่ 1/2561 ห้อง: ศษ. 1212, โทร: 0926749865
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การดูและรักษาความสะอาดห้องเรียน
1.2.3 ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.4 ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่าง ๆ ในชั้นเรียน
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงอนุพันธ์เบื้องต้นและการประยุกต์ ปริพันธ์เชิงตัวเลข ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ ปริพันธ์ตามเส้นเบื้องต้น อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน
2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ
2.2.3 มอบหมายให้ทำงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
2.2.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
2.3 1 การทดสอบย่อย ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค
2.3.2 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
2.3.3 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน
3.2.2 มอบหมายให้ทำงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
3.3.1 การทดสอบย่อย ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค
3.3.2 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
3.3.3 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ และผู้นำเสนอ
4.2.2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.2.3 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
4.3.1 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
4.3.2 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
5.2.2 กำหนดให้นักศึกษานำเสนองาน โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
5.3.1 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
5.3.2 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
5.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 FUNMA107 แคลคูลัส 3 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา ทุกสัปดาห์ 5%
2 1.1.1, 1.1.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบย่อย 5, 11, 12 20%
4 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบกลางภาค 9 30%
5 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบปลายภาค 18 30%
6 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.3, 5.1.2 1. พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย 2. พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม 4. มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน 2-8, 11-16 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาแคลคูลัส 3 สำหรับวิศวกร
ไม่มี
1. กมล เอกไทยเจริญ แคลคูลัส 2, ธีรพงษ์การพิมพ์, กรุเทพฯ, 2537
2. ทศพร จันทร์คง และสิรินาฏ สุนทรารันย์, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2542
3. ทศพร จันทร์คง และสิรินาฏ สุนทรารันย์, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2540
4. ศรีบุตร แววเจริญ และชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง, คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์, วงตะวัน จำกัด, กรุงเทพ ฯ, 2540
5. พรชัย สารทวาหา แคลคูลัส 3, พิทักษ์การพิมพ์, กรุงเทพฯ, 2548
6. Anton Howard, Calculus with Analytics Geometry, 7th Edition, John Wiley & Sons, Inc, 2002
7. James Stewart, Single Variable Calculus, 3rd , Brooks\Cole Publishing Company, 1995.
8. E. Kreyszig, Advance Engineering Mathematics, 6th Edition, John Wiley & Sons, Inc, 1988
9. M.R. Spiegle, Advance Calculus, Schaum’s Outline Series, McGraw-Hill Book company, 1963.
10. Anton Howard, Calculus with Analytics Geometry, 7th Edition, John Wiley & Sons, Inc, 2002
11. E. Kreyszig, Advance Engineering Mathematics, 6th Edition, John Wiley & Sons, Inc, 1988
12. M.R. Spiegle, Advance Calculus, Schaum’s Outline Series, McGraw-Hill Book company, 1963.
13. G.Z. Dennis, A First Course in Differential Equations, The Classic 5th Edition, Brooks/Cole, United States, 2001.
1.1 นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
1.2 ให้นักศึกษาทำแบบสอบถาม เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียน
2.1 ประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนร่วมในรายวิชา
2.2 ประเมินผลการเรียนการสอนโดยหัวหน้าแผนกวิชาคณิตศาสตร์
3.1 นำผลการประเมินของนักศึกษาและผลจากแบบสอบถามจากนักศึกษามาทบทวน และปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2 นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน
3.3 ทำวิจัยในชั้นเรียน
4.1 บันทึกหลังการสอนรายคาบ
4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3 แจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4 ใช้ข้อสอบร่วม
5.1 บันทึกหลังการสอนรายคาบ
5.2 ประชุมผู้สอนร่วม
5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม