วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ

Science for Health

มีความเข้าใจกระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ มีความเข้าใจถูกต้องในการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน มีความเข้าใจถึงผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม มีความรู้เบื้องต้นในด้านอาหารเพื่อสุขภาพ มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน มีแนวคิดเชิงบวกในการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม มีความรู้ทันความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ สามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ ซึ่งเป็นการเตรียมพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
2. เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม อาหารเพื่อสุขภาพ โรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม
3
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา 
2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด 
3. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง 
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย 
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบแก้ปัญหาหรืองานอื่นโดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย 
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย 
2. การนำเสนองาน
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม 
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม 
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 
2. มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC105 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 2.3, และ 3.2 สอบกลางภาค และปลายภาค 9 และ 17 ร้อยละ 40
2 1.3, 4.4, 5.1, 5.2, และ 5.3 ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากใบงาน ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 50
3 1.1 และ 4.4 การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
1. นิลนี หงษ์ชุมพล  และคณะ.  (2550).  โรคอาหารเป็นพิษจากสารฮีสตามีน.  นนทบุรี: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค  กระทรวงสาธารณสุข. 
2. พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล. (2541). โรคเอดส์และการติดเชื้อเอชไอวี. ในกนกรัตน์ ศิริพานิชกร (บรรณาธิการ), โรคติดเชื้อ. กรุงเทพฯ. โฮลิสติก พับลิชชิ่ง. 
3. สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์ (2542) อาหารเพื่อสุขภาพ และ อาหารตามสมัย, กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.  4
. โอภาส ภูชิสสะ อาหารแมคโครไบโอติกส์ธรรมชาติบำบัด – สุขภาพ ด้วยการแพทย์ผสมผสาน กองการแพทย์ทางเลือก. 
5. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (2552). เอกสารประกอบการสอน วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน. พิมพค์ร้ังที่5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. 
6. ชนิดา ปโชติการ ศัลยา คงสมบูรณ์เวช และอภิสิทธิ์ฉัตรทนานนท์(บรรณาธิการ). (2552). อาหารและ สุขภาพ Functional Foods for Health. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เสริมมิตร. 
7. เทวัญ ธานีรัตน์ วินัย แก้วมุณีวงศ์ และนภัส แก้ววิเชียร (บรรณาธิการ). (2551). ตำราวิชาการอาหารเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
-
1. วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17qJ8JiSQy872S31N8y8.pdf 
2. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย. (2542). คู่มือธงโภชนาการ กินพอดีสุขีทั่วไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP:http://info.thaihealth.or.th/files/-1 41.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2560. 
3. สาธารณสุข, กระทรวง กรมควบคุมโรค. (2553). สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ ประเทศไทย บทสรุปประเด็นสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ในปัจจุบันของประเทศไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP: http://epid.moph.go.th/reportaids/2010/T1_ 100430133509.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์ 
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย 
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา 
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ 
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป