เครื่องมือขนถ่ายและขนส่งผลิตผลเกษตร

Handling and Transportation of Agricultural Products

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และมีทักษะเกี่ยวกับ ทฤษฎีและเทคนิคในการขนถ่ายผลิตผลเกษตร การออกแบบระบบการขนถ่าย การเลือกใช้เครื่องมือขนถ่าย ระบบการทำงานของเครื่องมือขนถ่ายชนิดต่าง ๆ ระบบการขนส่งผลิตผลเกษตร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และมีทักษะเกี่ยวกับ ทฤษฎีและเทคนิคในการขนถ่ายผลิตผลเกษตร การออกแบบระบบการขนถ่าย การเลือกใช้เครื่องมือขนถ่าย ระบบการทำงานของเครื่องมือขนถ่ายชนิดต่าง ๆ ระบบการขนส่งผลิตผลเกษตรที่ทันสมัย เพื่อเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพ ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ทฤษฎีและเทคนิคในการขนถ่ายผลิตผลเกษตรการออกแบบระบบการขนถ่าย การเลือกใช้เครื่องมือขนถ่าย ระบบการทำงานของเครื่องมือขนถ่ายชนิดต่าง ๆ ระบบการขนส่งผลิตผลเกษตร
สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง 736 โทร 0891461553
3.2 E-mail; Noppadol2509@hotmail.com เวลา 20.00 - 22.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ การจัดการเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษารู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้ผิดและรู้ชอบ


อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงานจริง โดยเน้นความถูกต้องตามหลักวิชาการและวิชาชีพ และรู้จักจรรยาบรรณในการทำงานบรรยายพร้อมยกตัวอย่างการอ้างอิงหนังสือที่นำมาใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ตลอดจนการคัดลอกงานคนอื่น มาเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดจรรยาบรรณ


ฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม โดยให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานร่วมกัน บริการสังคม กำหนดเวลา ความรับผิดชอบ การทำงานตลอดจนรักษาสิ่งแวดล้อมในการทำงาน


บรรยายในห้องหรือปฏิบัติการในแปลง โดยเน้นสอนให้นักศึกษารู้จักการเคารพสิทธิ์ของเพื่อนร่วมงาน
พฤติกรรมการเข้าเรียน

- การตรงต่อเวลา
- การมีน้ำใจต่อเพื่อนร่วมชั้น เช่นการให้ยืมอุปกรณ์การ เรียนขณะเรียน

ด้านจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

- ไม่ลอกการบ้าน งานมอบหมาย หรือข้อสอบ
- งานมอบหมายจะต้องค้นคว้ามาโดยมีการอ้างอิง เอกสาร

ด้านวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การฝึกปฏิบัติงานตามคำสั่ง ความตั้งใจใส่ในการเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา ขณะเรียนและปฏิบัติงานใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม


ด้านการเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ไม่แกล้ง ใส่ร้ายเพื่อน การเคารพการตัดสินใจ ที่เป็นมติของคนส่วนใหญ่ การแต่งกายถูกต้องเพื่อเคารพต่อสถาบัน และเพื่อนร่วมห้องไม่แซงคิวหรือลำดับของเพื่อนร่วมห้อง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทค โนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1 บรรยายและฝึกปฏิบัติเพื่อให้นักศึกษได้มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 มอบหมายงานค้นคว้าเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตรสมัยใหม่
2.3 ปฏิบัติการการใช้เครื่อง จักรกลเกษตรในการผลิตพืช
2.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติงาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานในโรงเรือนปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3 การนำเสนอรายงาน
4.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
โกมล ศิวะบวรและคณะ. 2547. การประปาเบื้องต้น. ธนะการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์. 2539. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม. มิตรนราการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
เฉลิมศักดิ์ นามเชียงใต้. มปป. กลศาสตร์ก่อสร้าง. อักษรสาน์ส, กรุงเทพมหานคร.
บรรเลง ศรนิลและประเสริฐ ถ้วยสมบูรณ์. 2527. ตารางงานโลหะ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพมหานคร.
อนันต์ วงศ์กระจ่าง. 2530. ความแข็งแรงของวัสดุ. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทเวศร์, ปทุมธานี.
กองเกษตรวิศวกรรม 2531. คู่มือกาใช้เครื่องนวดเมล็ดพืช. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
เกษตรพัฒนา: โรงงาน. 2537. คู่มือการใช้เครื่องนวดข้าว. [ม.ป.พ.].
ฉัตรชาย ศุภจารีรักษ์. 2538. รถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตร. ชลบุรี: ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
. 2544. เครื่องมือเก็บเกี่ยวและเครื่องมือเกี่ยวนวด. ชลบุรี: ภาคเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์ บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
ประณต กุลประสูติ. 2535. แทรกเตอร์เพื่อการเกษตร (การใช้ การบรอการบำรุงรักษา และการปรับปรุง). กรุงเทพฯ: เอเชียเพรส.
. 2544. แทรกเตอร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
ประสาร กระดังงา, สุทธิพร เนียมหอม, ไชยยงค์ หาราช, อเนก สุขเจริญและวิเชฐ ศรีชลเพชร.2541. รายงานการทดสอบรถแทรกเตอร์4ล้อเล็ก. ศูนย์เครื่องจักรกลเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
ผดุงศักดิ์ วานิชชัง.2532. การทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม. ภาควิชาเกษตร กลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
พินัย ทองสวัสดิ์, จิราภรณ์ เบญจประกายรัตน์. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องเครื่องกำจัดวัชพืชแบบ กวศ. 1. ระหว่างวันที่ 31 พ.ค. – 2 มิ.ย. 2538 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม.
พินัย ทองสวัสดิ์วงศ์, วินิต ชินสุวรรณ, สุรเวทย์ กฤษณะเศรณี, สมโภชน์ สุดาจันทร์,เสรี วงส์พิเชษฐ. 2532. คู่มือการใช้เครื่องหยอดเมล็ดพืชแบบล้อเอียง. [ม.ป.ท. : ม.ป.พ.].
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สำนักงาน(สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม. 2351. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องนวดข้าวตามแกนลูกนวด มอก.768-2531. กรุงเทพ:
. 2535 ก. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสากรรม การทดสอบรถไถเดินตาม มอก. 1110-2535. กรุงเทพ:
. 2537. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องหยอดเมล็ดพืช มอก. 1236-2537. กรุงเทพ:
. 2538. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหัวฉีดพ่นไฮดรอลิกสำหรับป้องกันและกำจัดศัตรูพืช มอก. 1273-2538. กรุงเทพ:
 
รุ่งเรือง กาลศิริศิลป์. 2545. การจัดการเครื่องต้นกำลังและเครื่องจักรกลเกษตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
วินิต ชินสุวรรณ. 2530. เครื่องจักรกลเกษตรและการจัดการเบื้องต้น. ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ