จิตวิทยาการบริการ

Service Psychology

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจหลักการของจิตวิทยาพื้นฐานทั่วไป และจิตวิทยาการบริการสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ
1.2 สามารถ ประยุกต์ นำศาสตร์ต่างๆมาให้บริการในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง
1.3 มีทักษะปฏิบัติ ด้านการให้บริการ การรับรู้ การเรียนรู้ การปรับทัศนคติ และการบริหารงานบริการ
1.4 มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาสร้างและพัฒนาตนเองให้มีจิตบริการ
     2.1 เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานบริการ
     2.2 เพื่อให้การเรียนการสอนสอคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจมหภาค
ความหมายและความสำคัญของจิตวิทยาบริการ แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาที่นำมาประยุกต์ใช้ในการบริการ พฤติกรรมของมนุษย์ การสร้างและการพัฒนาทักษะการบริการ หลักการสื่อสาร มนุษยสัมพันธ์ จริยธรรมในงานบริการ ปัจจัยที่มีผลกับการบริการ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาในงาน การพัฒนาจิตบริการของผู้ให้บริการ กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
เปิดโอกาสให้เข้าพบตามช่วงเวลาว่างจากการสอน และสามารถนัดหมายล่วงหน้าได้ทั้งการสื่อสารในช่องทางต่างๆตามที่นักศึกษาสะดวก
1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต  และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน
2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ
5. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
1)  ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
2. การสอบข้อเขียน
1. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)
3. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
2. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ
3. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
3. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH105 จิตวิทยาการบริการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 จิตพิสัย/กิจกรรมในชั้นเรียน - สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1 - ทำงานเดี่ยวและกลุ่ม และรายงานผลงาน - สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและ กับผู้สอนทุกคน - ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน - ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า - ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ - ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน - ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 2.1, 3.1 สอบกลางภาค - ทดสอบโดยการสอบข้อเขียน 9 30%
4 2.1, 3.1 สอบปลายภาค - ทดสอบโดยการสอบข้อเขียน 18 30%
จิตวิทยาบริการ  Service Psychology Comprehension Strategies and Trend.  อเนก  สุวรรณบัณฑิตและภาสกร  อดุลพัฒนกิจ, 2548  ISBN 974-93235-8-0 (339 หน้า 245.-)
เอกสารการสอน ชุดวิชาจิตวิทยาการบริการ= Psychology for the hospitality industry/สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1-7
เอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาการบริการ= Psychology for the hospitality industry/ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 8-15
บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
งานวิจัย(ไทย-ต่างประเทศ)ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ
บทความ(ไทย-ต่างประเทศ)  ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ
งานวิจัย บทความงานวิจัย ที่เผยแพร่ในระบบสารสนเทศ ในฐานข้อมูลที่มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิก
เว๊ปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาบริการ
หนังสือ ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ
วารสาร  ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ
- ใช้แบบประเมินในระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย
- มีการสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา / แบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินรายวิชา
- การสังเกตพฤติกรรมของนิสิต / ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ได้จัดทาไว้สื่อสารกับนักศึกษา
ใช้การสอบประเมินผลการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมของนักศึกษา
สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน  การวิจัยในชั้นเรียน การฝึกปฏิบัติของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการกลุ่มด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันแล้วหาแนวทางที่เหมาะสมเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา  เพิ่มช่องทางหรือเปิดโอกาสในการบูรณาการร่วมกับผู้สอนในรายวิชาอื่น
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 กำหนดช่วงเวลาในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาเข้าไว้ในมคอ.3
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3   ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4   ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาที่ได้จากการวิจัยในชั้นเรียน หรือนำแนวทางปฏิบัติที่ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชมงคลทั่วประเทศมาประยุกต์ใช้กับรายวิชานี้ของปีการศึกษาถัดไป