การทำความเย็นและปรับอากาศ

Refrigeration and Air Conditioning

ศึกษาหลักการของระบบทำความเย็นและปรับอากาศ วัฏจักรการทำ ความเย็น อุปกรณ์ทำความเย็น สารทำความเย็นและสารหล่อลื่น กระบวนการทาง ไซโครเมตริก การคำนวณภาระของระบบปรับอากาศ
เพื่อศึกษาหลักการของระบบทำความเย็นและปรับอากาศ วัฏจักรการทำ ความเย็น อุปกรณ์ทำความเย็น สารทำความเย็นและสารหล่อลื่น กระบวนการทาง ไซโครเมตริก การคำนวณภาระของระบบปรับอากาศ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของระบบทำความเย็นและปรับอากาศ วัฏจักรการทำ ความเย็น อุปกรณ์ทำความเย็น สารทำความเย็นและสารหล่อลื่น กระบวนการทาง ไซโครเมตริก การคำนวณภาระของระบบปรับอากาศ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ 1.1.2 สามารถทำงานเป็นหมู่คณะและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.1.3 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ 
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การทำงานกลุ่มและการส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ 1.2.2  ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทาการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา 1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 การกระทำทุจริตในการสอบ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของวิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ สามารถใช้ความรู้และทักษะในวิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง 2.2.2 เน้นหลักการทางทฤษฏีของการทำความเย็นและปรับอากาศ และยกตัวอย่างการประยุกต์การทำความเย็นและปรับอากาศในงานวิศวกรรมจริง เน้นการแก้โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานทางวิศวกรรมด้านการทำความเย็นและปรับอากาศ และมีอภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์และนักศึกษา มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
 
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2   ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านการทำความเย็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2 มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรม ทางด้านระบบทำความเย็นหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้ เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ทางด้านระบบทำความเย็นใหม่ ๆ
ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทำรายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน  แก้ไข
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการสื่อสารต่อสังคมได้ ในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้อง กับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.3 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม 4.1.4 มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอนและการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า 4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1 ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิ ทธิ ภาพ 5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูล เช่น การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลได้
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน         E- Learning 5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1, 2.2.2, 3.1.1, 3.1.2,3.1.3 5.1.1, 5.1.2 ,5.1.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 35% 35%
2 1.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 4.1.3 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบ คำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชูชัย ต. ศิริวัฒนา. 2546. การทำความเย็นและการปรับอากาศ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพฯ Rex Miller and Mark R. Miller. 2006. Air Conditioning and Refrigeration. McGraw-Hill. New York Chicago Shan K. Wang.2001. HANDBOOK OF AIR CONDITIONING AND REFRIGERATION. McGraw-Hill. New York Chicago William C. Whitman, William M. Johnson, John A. Tomczyk and Eugene Silberstei. 2009. REFRIGERATION & AIR CONDITIONING TECHNOLOGY. 6th Edition. USA
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา  แก้ไข
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1 การสังเกตของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  แก้ไข
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ