พื้นฐานไฟฟ้า

Basic Electricity

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานไฟฟ้าการต่อสาย และการเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน
1.  มีความเข้าใจเกี่ยวเครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
2.  เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานในการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า
3.  เพื่อให้เข้าใจในระบบงานไฟฟ้า และการต่อสายไฟฟ้าในแบบต่างๆ
4.  เพื่อให้เข้าใจการติดตั้งชุดอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคาร และโรงงานอุตสาหกรรม
5.  นำหลักการ และความรู้มาประยุกต์ใช้กับงานด้านอื่นๆได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า เครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า หลักการพื้นฐานทางไฟฟ้าและระบบไฟฟ้ากำลัง  การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น  การออกแบบและควบคุมเครื่องมือไฟฟ้าในการเกษตร อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
3.1  ทุกวัน ระหว่าง 17.00 – 18.00 น.
˜ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์
1.พฤติกรรมการตรงต่อเวลา ได้แก่ การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา เป็นต้น
2.พฤติกรรมการปฏิบัติตัวทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน ได้แก่ การมีสัมมาคารวะและนอบน้อม การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น
3.ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย “ได้แก่ รายงาน การบ้าน เป็นต้น
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
6. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม หรืองานวิเคราะห์เดี่ยว
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การฝึกตีความ หรือการตีโจทย์
7.การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบ
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
2. การสอนมีการสอดแทรกการลงฝึกปฏิบัติการจริงในบางหน่วย เพื่อให้เกิดความชัดเจน
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
4. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 
1.สถานการณ์จำลอง
2.สมุดงาน และการบันทึก
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การฝึกตีความ
6.การทดสอบโดยใช้ข้อสอบ
7.การนำเสนอแนวคิด และ ข้อคิดเห็น
˜ 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜ 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานที่มีต้องมีการใช้ความร่วมมือกันภายในกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
2. มีการให้แสดงความเห็นและเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่พบ
1. ผลงานที่ได้จากการลงปฏิบัติรายกลุ่ม/แบบฝึกปฏิบัติ
2. การแสดงความเห็น
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการนำเสนอและนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
2. การสอนโดยใช้ศัพท์ทางวิชาการในเชิงวิศวกรรมไฟฟ้า สอดแทรกในระหว่างการสอน
- ปริมาณข้อมูลการนำเสนองานและแนวคิดในการแก้ไขปัญหา ได้แก่ โจทย์ปัญหาในห้องเรียน การบ้าน งานมอบหมาย เป็นต้น
- จำนวนการสอบถามข้อสงสัยในข้อมูลที่มอบหมาย
- ความสามารถในการแก้ไขปัญหา และตอบคำถาม
š 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
˜ 6.2 มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
1. ให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม และทำการฝึกซ้อม โดยให้นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการแก่ปัญหาให้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกันเอง
2. มีการควบคุมระยะเวลาในการฝึกลงมือปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
1. สังเกตพฤติกรรมการแนะนำเพื่อนระหว่างการปฏิบัติ
2. จับเวลาระหว่างการฝึกปฏิบัติ และทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
1 BSCFM116 พื้นฐานไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์ ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด 1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies) 2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน 3 การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 5. การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบปฏิบัติงาน ทุกสัปดาห์ 10% 5% 5% 5% 55%
3 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการนำเสนอและนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา ทุกสัปดาห์ 10%
- ลือชัย ทองนิล “การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า”
- วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. “คู่มือมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555”.
- เอกสารทั่วไปเกี่ยวกับงานด้านพื้นฐานไฟฟ้า
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2 ปริมาณการสอบถามจากนักศึกษาทั้งใน-นอกเวลาเรียน
2.1 สังเกตการสอนโดยกรรมการประจำหลักสูตร
2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
ภายหลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยกคณะกรรมการประจำหลักสูตรร่วมกับผู้สอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรอื่น ภายในหรือภายนอกคณะวิศวกรรมศาสตร์หรือกรรมการประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ พิษณุโลก
5.1 ระยะยาว นำเสนอรายงานสรุปผลการจัดการเรียนการสอนในแต่ละวิชาตาม มคอ.๓, มคอ.๔, มคอ.๕, มคอ.๖ และ มคอ.๗ ให้คณะกรรมการกลางของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี
5.2 ระยะสั้น นำผลจากข้อมูลใน มคอ.๓, มคอ.๔, มคอ.๕, มคอ.๖ และ มคอ.๗ ในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา มาทำการปรับปรุงรายละเอียดหรือเนื้อหาการเรียนการสอนเพื่อให้รองรับกับสภาพการณ์ และนำเสนออาจารย์ประจำรายวิชานั้นในการนำไปใช้จัดการเรียนการสอน