ธรณีวิทยา

Geology

เพื่อให้นักศึกษาบทนำและความสำคัญของวิชาธรณีวิทยาทางวิศวกรรมต่อวิศวกร เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจโครงสร้างของโลกและเวลาทางธรณีวิทยา เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องแร่และหิน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องหินอัคนี เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องหินชั้น เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องหินแปร เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการผุพังและดิน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการเคลื่อนตัวและการเคลื่อนพังของมวลดิน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องน้ำผิวดิน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องน้ำใต้ดิน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องลมและทะเลทราย เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการเคลื่อนตัวและการเคลื่อนพังของมวลดิน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องมหาสมุทรและชายฝั่ง เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีโครงสร้าง เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องแผนที่ธรณีวิทยา เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องภูมิประเทศและธรณีวิทยาของประเทศไทย เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีวิทยาในการตรวจสอบที่ตั้งแหล่งก่อสร้าง เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีวิทยาของแหล่งน้ำบาดาล เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีวิทยาของเขื่อนและอ่างเก็บน้ำ
1.1 เพื่อให้นักศึกษาบทนำและความสำคัญของวิชาธรณีวิทยาทางวิศวกรรมต่อวิศวกร
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจโครงสร้างของโลกและเวลาทางธรณีวิทยา
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องแร่และหิน
1.4 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องหินอัคนี
1.5 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องหินชั้น
1.6 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องหินแปร
1.7 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการผุพังและดิน
1.8 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการเคลื่อนตัวและการเคลื่อนพังของมวลดิน
1.9 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องน้ำผิวดิน
1.10 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องน้ำใต้ดิน
1.11 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องลมและทะเลทราย
1.12 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการเคลื่อนตัวและการเคลื่อนพังของมวลดิน
1.13 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องมหาสมุทรและชายฝั่ง
1.14 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีโครงสร้าง
1.15 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องแผนที่ธรณีวิทยา
1.16 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องภูมิประเทศและธรณีวิทยาของประเทศไทย
1.17 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีวิทยาในการตรวจสอบที่ตั้งแหล่งก่อสร้าง
1.18 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีวิทยาของแหล่งน้ำบาดาล
1.19 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องธรณีวิทยาของเขื่อนและอ่างเก็บน้ำ
ศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจทางธรณีวิทยาที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมโยธา  ลักษณะโครงสร้างและชื่อเรียกของชั้นเปลือกโลกตามหลักการธรณีวิทยา  ลักษณะการเกิดรอยเคลื่อนตัวของชั้นเปลือกโลก  ลักษณะธรณีวิทยาที่เหมาะสมกับที่ตั้งอ่างเก็บน้ำ เขื่อน และการก่อสร้างงานวิศวกรรมโยธาขนาดใหญ่  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธรณีวิทยาในงาน  ชลประทาน  และการขุดเจาะน้ำบาดาล
Study of geology investigation related to civil engineering, structure and name of earth crust following geology principle, occurring in earth crust movement, geology concept for locating reservoir, dam and mega civil engineering structure, general knowledge about geology in irrigation and groundwater work.
การให้คำปรึกษาโดยอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นจำนวน 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์พร้อมทั้งให้คำแนะนำทางด้านวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ผ่านระบบ online
วินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อ บังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร
บรรยายในชั้นเรียน
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย และยกตัวอย่าง
ประเมินจากผลการสอบย่อยประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบมีการวิเคราะห์แนวการป้องกันและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
บรรยาย และยกตัวอย่างประกอบ
ประเมินผลจากการ การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
บรรยาย และยกตัวอย่าง
ประเมินจากการนำเสนอรายงานใน ชั้นเรียน
สามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
บรรยาย จัดกลุ่มให้นักศึกษาได้นำเสนอ เพื่อฝึกการสื่อสาร สรุปความ
ประเมินจากรายงาน ค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ และอ้างอิงที่มาของแหล่งข้อมูล
มีทักษะ ในการปฏิบัติงานกลุ่ม
มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
กำหนดให้ทำงานกลุ่ม 
ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมทาง
วิศวกรรมโยธา
กับหน่วยงานภายใน และภายนอก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อ บังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1-8 และ 10 -17 ร้อยละ 5
2 ซื่อสัตย์ เสียสละ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ประเมินจากการทำงานกลุ่ม และรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ที่ได้รับมอบหมาย 1-8 และ 10 -17 ร้อยละ 3
3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ ประเมินจากการทำงานกลุ่ม และรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1-8 และ 10 -17 ร้อยละ 2
4 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ประเมินจากผลการสอบย่อยประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 4 และ 12 9 และ 18 ร้อยละ 70
5 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา ประเมินจากการนำเสนอรายงานใน ชั้นเรียน 14 15 16 ร้อยละ 5
6 สามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา ประเมินจากรายงาน ค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ และอ้างอิงที่มาของแหล่งข้อมูล 16 และ 17 ร้อยละ 5
7 มีทักษะ ในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมทาง วิศวกรรมโยธา กับหน่วยงานภายใน และภายนอก 16 และ 17 -
กิจการ พรหมมา. 2555. ธรณีวิทยา สำหรับวิศวกร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 518 หน้า
ชรินทร์ กาสลัก และ ดลฤดี หอมดี. 2559. ธรณีวิทยาวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. 341 หน้า.
สง่า ตั้งชวาล. 2549. ธรณีวิศวกรรมขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 460 หน้า.
Das, B.M. 1985. Principles of Geotechnical Engineering: Third Edition, Boston, PWS Publishing Company, 672 p.
Gore J.A. 1978. A technique lor predicting in-strcam flow requirements of benihic macroinvertebrates. Freshwater Biology, 8, 141-151.
Panchuk, K., 2019. Physical Geology. University of Saskatchewan.
Thompson, G. and Turk, J., 1998. Physical geology. Orlando-FA.
Waltham, T., 2002. Foundations of engineering geology. CRC Press.
Weijermars, R., 1997. Structural geology and map interpretation. Alboran Science Publishing.
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2551. รายงานผลการวิจัยของสำนักวิจัยและพัฒนา เรื่อง โครงการจัดทำประตูอันน้ำกลางคลองแบบปรับบานอัตโนมัต RADA Gate. พิมพ์โดยกลุ่มงานชลศาสตร์ ส่วนวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักงานวิจัยและพัฒนา
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.สำนักอุทยานแห่งชาติ. 2554. การจัดการถ้ำเพื่อการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ. กรุงเทพ: สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช.
กิจการ พรหมมา. 2555. ธรณีวิทยา สำหรับวิศวกร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 518 หน้า
ชรินทร์ กาสลัก และ ดลฤดี หอมดี. 2559. ธรณีวิทยาวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. 341 หน้า.
เพียงตา สาตรักษ์. 2550. พื้นฐานธรณีวิทยาโครงสร้าง. ขอนแก่น: ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 310 หน้า.
เพียงตา สาตรักษ์. 2551. หลักและวิธีสำรวจ: ธรณีวิทยาภาคสนาม. พิมพ์ครั้งที่2. ขอนแก่น: ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 386 หน้า.
เพียงตา สาตรักษ์. 2559. ธรณีวิทยาโครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 4. ขอนแก่น: ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 555 หน้า.
เพียงตา สาตรักษ์และ ณัฐวิโรจน์ ศิลารัตน์. 2553. คู่มือปฏิบัติการธรณีวิทยาโครงสร้างและธรณีวิทยาภาคสนาม: โครงสร้างและแผนที่ทางธรณีวิทยา. ขอนแก่น: ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 317 หน้า.
สง่า ตั้งชวาล. 2549. ธรณีวิศวกรรมขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 460 หน้า.
สง่า ตั้งชวาล. 2555. ธรณีวิศวกรรมขั้นพื้นฐาน: ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 462 หน้า
สุนันท์ คุณาภรณ์. 2539. ธรณีสัณฐานวิทยาและดินในทะเลทราย . พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : กองสำรวจและจำแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 32 หน้า.
"เสรีวัฒน์ สมินทร์ปัญญา. 2543.        โลกและหิน . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. 287 หน้า."
กิจการ พรหมมา. 2555. ธรณีวิทยา สำหรับวิศวกร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 518 หน้า
ชรินทร์ กาสลัก และ ดลฤดี หอมดี. 2559. ธรณีวิทยาวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. 341 หน้า.
สง่า ตั้งชวาล. 2549. ธรณีวิศวกรรมขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 460 หน้า.