ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์

Vehicle Electrical and Electronics Systems

ศึกษาเกี่ยวกับกฎของโอห์ม เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์  วงจรไฟฟ้าตัวถังภายในยสนยนต์ (EWD) ระบบสตาร์ท ระบบประจุไฟฟ้า ระบบจุดระเบิด ระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยในรถยนต์ 
       1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้  
       2.เพื่อให้เข้าใจในวิชาระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
       3.เพื่อการประยุกต์ใช้งาน และก้าวทันเทคโนโลยียานยนต์
ศึกษาเกี่ยวกับกฎของโอห์ม เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์  วงจรไฟฟ้าตัวถังภายในยสนยนต์ (EWD) ระบบสตาร์ท ระบบประจุไฟฟ้า ระบบจุดระเบิด ระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยในรถยนต์ 
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติของหลักสูตรดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้วิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีเครื่องกลต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการวินัย ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพในสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกการวิเคราะหและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

                   3. อภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
           มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎของโอห์ม เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์  วงจรไฟฟ้าตัวถังภายในยานยนต์ (EWD) ระบบสตาร์ท ระบบประจุไฟฟ้า ระบบจุดระเบิด ระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยในรถยนต์ 
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 2.3.1   ทดสอบย่อยทางทฤษฎี สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดทฤษฎีเชิงปฏิบัติ
 2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางด้านงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ได้อย่างเหมาะสมพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
-มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
-ให้นักศึกษาทฤษฎีระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
-วิเคราะห์กรณีศึกษาของระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
-สอบกลางภาคและปลายภาคทฤษฎี โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์องค์ความรู้ความสามารถทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
-วัดจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
-สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และผู้เรียนที่มีต่ออาจารย์
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกลุ่ม เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- มอบหมายงานการค้นคว้าพิเศษรายกลุ่มในเรื่องเทคโนโลยียานยนต์
- การนำเสนองานหน้าชั้นเรียนรายกลุ่ม
- ทดสอบภาคทฤษฎี และตอบข้อซักถามของอาจารย์ด้วยวาจา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายกลุ่ม
- รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และการนำเสนอ                  
 -พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
- ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การส่งงานทางอีเมล์
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่างๆ ที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
6.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า
6.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2)
6.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
6.2.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
6.2.2 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
6.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงาน
6.2.4 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนทีเหมาะสม ถูกต้อง
6.2.5 ปฏิบัติตามกฏระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
6.2.6 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.3 มีความประเมิน Term Project ของนักศึกษา (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1,6.2)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 – 10.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1 สอบปฏิบัติย่อย รายงานรายกลุ่มครั้งที่ 1 นำเสนอผลงานด้วยวาจารายงานทางเทคนิค ส่งผลงานเป็นรูปเล่ม เรื่อง เครื่องยนต์ EFI 1-7 30%
3 7.1, 8.1, 9.1, 10.1 รายงานรายกลุ่มครั้งที่ 2 นำเสนอผลงานด้วยวาจา เรื่อง สร้างชุดทดลองทางด้านเครื่องยนต์ EFI 9-16 20%
4 8 17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 20% 20%
เครื่องยนต์หัวฉีด EFI, นภดล   เวชวิฐาน, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย – ญี่ปุ่น) อิเล็กทรอนิกส์รถยนต์, พิเชฐ   เขียวสีม่วง

        3. ทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟ้ารถยนต์, บุญธรรม  ภัทรจารุกุล, ซีเอ็ด
1.  คู่มือซ่อมโตโยต้า 4A-GE , บริษัทโตโยต้า
2. เอกสารของเครื่องยนต์ NISSAN  ระบบ ECCS
3. เครื่องยนต์ฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน, วิทยา   เจียรสุวรรณ, ซีเอ็ด
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ