การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร

Agricultural Technology Transfer and Extension

ศึกษาความสำคัญของบการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเพื่อารวางแนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีก่ารถ่ายทอดเทตโนโลยีทางการเกษตร และแหล่งข้อมูลข่าวสารสารสนเทศทางการเกษตร
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของเกษตรกร พัฒนาวิธีการวิเคราะห์ปัญหาทางการเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเกษตรแก่ผู้เรียนในหลักสูตรเกษตรศาสตร์
ศึกษาใหเผู้เรียนได้ศึกษาความสำคัญของการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร และแหล่งข้อมูลข่าวสารสนเทศทางการเกษตร
3
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สอดแทรก ให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่น ๆ 
มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
(2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
(3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเป็นนักส่งเสริมการเกษตรอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
  การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
(2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
(3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
  การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
(2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
(3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
  การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
(2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
(3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
  การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
(2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
(3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
มีทักษะการส่งเสริมการเกษตร หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติส่งเสริมการเกษตรตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
(2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
(3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองสถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1 21011314 การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บอก ความหมายและความสำคัญของการส่งเสริมการเกษตร การสัมภาษณ์ สังเกตพฤติรรมองผู้เรียน 2 1/10
2 รู้เทคนิคและวิธีการส่งเสริมการเกษตร บอกและเข้าใจประเภทวิธีการส่งเสริมการเกษตร มีทักษะการใช้เทคนิคการส่งเสริมการเกษตร เข้าใจกระบวนการส่งเสริมการเกษตร รู้กระบวนการยอมรับนวัตกรรมการเกษตร เข้าใจความสัมพันธ์ของวิธีการส่งเสริมการเกษตรกับกระบวนการยอมรับนวัตกรรมการเกษตร รู้การแบ่งกลุ่มเป้าหมายตามระดับการยอมรับนวัตกรรม Formative และ Summative Asseement สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม ทัศนคติต่อการส่งเสริมการเกษตร 3 1/10
3 รู้วิธีการติดต่อสื่อสารในการส่งเสริมการเกษตร เข้าใจความสำคัญของการสื่อสาร ทราบวิธีการสื่อสาร เข้าใจกระบวนการติดต่อสื่อสาร ตระหนักถึงปัจจัยที่ทำให้การติดต่อสื่อสารสำเร็จ รู้ปัญหา อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร ทดสอบความเข้าใจ ความรู้ ประเมินความสามารถเลือกวิธีการที่เหมาะสม 4 2/10
4 รู้การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในการส่งเสริมการเกษตร เข้าใจความหมายของโสตทัศนูปกรณ์ รู้ประโยชน์ของการใช้โสตทัศนูปกรณ์ รู้ประเภทของโสตทัศนูปกรณ์ เข้าใจหลักการเลือกใช้โสตทัศนูปกรณ์ มีทักษะการใช้โสตทัศนูปกรณ์ สัมภาษณ์ ประเมินทักษะการใช้โสตทัศนูปกรณ์ 5 2/10
5 ทราบความสำคัญของการวิเคราะห์ปัญหาทางการเกษตร ทราบความสำคัญของการวิเคราะห์ปัญหากับการส่งเสริมการเกษตร มีทักษะวิเคราะห์ปัญหา Design Thinking / หลักอริยะสัจสี่ เข้าใจความสัมพันธ์ของการวิเคราะห์ปัญหทางการเกษตรและเทคนิควิธีการส่งเสริมการเกษตร แบบทอสอบ ประเมินทักษะการวิเคราะห์ปัญหา 5 2/10
6 รู้การวางแผนและโครงการส่งเสริมการเกษตร เข้าใจความหมายและความสำคัญของการวางแผน ทักษะการวางแผนส่งเสริมการเกษตร ประสบการณ์การทำ SWOT analysis ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผนส่งสริมการเกษตร ประเมินทักษะ สังเกตพฤตกรรม 7 2/10
เอกสารประกอบการเรียนวิชา หลักการส่งเสริมการเกษตร https://sites.google.com/site/watitbuasang/xeksar-prakxb-kar-reiyn-wicha-hlak-kar-sng-serim-karkestr  
ความรู้ทั่วปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร https://www.stou.ac.th/Offices/Oes/upload/a-w%2091108%201-2-pdf/a-w%2091108-2.pdf  
หลักการนิเทศศาสตร์เกษตรกับการประยุกต์ใช้ในเมืองไทย https://sites.google.com/site/adec4609/hlak-kar-nithessastr-kestr/5
คลังความรู้กรมส่งเสริมการเกษตร https://www.doae.go.th/km_catergory.php
ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ระดับทักษะ สังเกตการเปลื่ยนแปลงพฤติกรรม
แบบฟอร์มประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
นำประสบการณ์จากงานบริการวิชาการ มาปรับปรุงวิธีการส่งเสริมที่ทันสมัย คัดเลือกเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม
สังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเทคนิคการสื่อสาร การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรของเกษตรกร
นำผลสัมฤทธิการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้มาประเมินผลการเรียนทุกครั้งที่มีการประเมินผลและนำข้อบกพร่องไปทบทวน/ปรับแก้กระบวนการสอน