จิตวิทยาการบริการ

Service Psychology

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจหลักการของจิตวิทยาพื้นฐานทั่วไป และจิตวิทยาการบริการสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ
1.2 สามารถ ประยุกต์ นำศาสตร์ต่างๆมาให้บริการในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง
1.3 มีทักษะปฏิบัติ ด้านการให้บริการ การรับรู้ การเรียนรู้ การปรับทัศนคติ และการบริหารงานบริการ
1.4 มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาสร้างและพัฒนาตนเองให้มีจิตบริการ
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
     2.1 เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานบริการ
     2.2 เพื่อให้การเรียนการสอนสอคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจมหภาค  
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานของความต้องการบุคคล ความแตกต่างด้านวัฒนธรรมของผู้รับบริการ การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้ให้บริการหลักการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ หลักการสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์ในการบริการ จริยธรรมในงานบริการเทคนิคการจูงใจลูกค้า รวมทั้งกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการให้บริการ และการนำจิตวิทยาการบริการไปใช้ในการประกอบอาชีพ
เปิดอิสระตามสะดวกให้กับน.ศ. ผ่านช่องทางออนไลน์
 คุณธรรมจริยธรรม

Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
1.2 วิธีการสอน (ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง)
        ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน   ü 2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ   ü
ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน ทั้งในชั้นเรียนและระบบสื่อสารอิเลคทรอนิคส์
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ     5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ   ü 6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน  

 
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

 รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1)  ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย   ü 2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน   ü 3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน   ü 4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก     5)  ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน  
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ   ü 2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ   ü 3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง     4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน     5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ     6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน   ü 2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค   ü 3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน   ü 4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า  
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย   ü 2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม   ü 3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา     4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ     5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ   ü 2. การสอบข้อเขียน     3. การเขียนรายงาน  
Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ  1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ  2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม  3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน   ü 2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)     3. งาน (portfolio) ในการใช้ประวัติสะสมประเมิน   ü 4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน     5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน

 
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
        โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1.5 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.2.1.5   3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1.5
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ   2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน   3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน ü        ü 4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ü 5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ     2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน     3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์   ü 4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า  
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
 
 
 
 
 
 
 
6.1 ผลการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
        โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล

 
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ü 1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ   2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก   3. ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน   ü 2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ     3. ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ( ให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ทั้ง6 ด้านตาม มคอ.3 หมวดที่ 4 ของแต่ละรายวิชา ) กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ (6 ด้าน) วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 1.1 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 20% 2 2.1 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 9,18 25% 3 2.1, 3.1, 4.1 ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน ทุกสัปดาห์ 30% 4 4.1 ประเมินนักศึกษาโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน 10 - 5 5.1 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 10 6 6.1 ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 10 25%
 


1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก   จิตวิทยาบริการ  Service Psychology Comprehension Strategies and Trend.  อเนก  สุวรรณบัณฑิตและภาสกร  อดุลพัฒนกิจ, 2548  ISBN 974-93235-8-0 (339 หน้า 245.-)
เอกสารการสอน ชุดวิชาจิตวิทยาการบริการ= Psychology for the hospitality industry/สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1-7
เอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาการบริการ= Psychology for the hospitality industry/ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 8-15   เอกสาร และข้อมูลแนะนำ งานวิจัย บทความงานวิจัย ที่เผยแพร่ในระบบสารสนเทศ ในฐานข้อมูลที่มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิก
เอกสาร และข้อมูลสำคัญ  บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
งานวิจัย(ไทย-ต่างประเทศ)ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ
บทความ(ไทย-ต่างประเทศ)  ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ เอกสาร และข้อมูลแนะนำ งานวิจัย บทความงานวิจัย ที่เผยแพร่ในระบบสารสนเทศ ในฐานข้อมูลที่มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิก
เว๊ปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาบริการ
 
 
 
เอกสาร และข้อมูลแนะนำ งานวิจัย บทความงานวิจัย ที่เผยแพร่ในระบบสารสนเทศ ในฐานข้อมูลที่มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิก

เว๊ปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาบริการ
หนังสือ ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ
วารสาร  ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการบริการ