อาหารล้านนา

Lanna Food

ศึกษาเกี่ยวกับอาหารพื้นบ้านล้านนา  วัตถุดิบ  เครื่องปรุงอาหาร  การเลือกใช้อุปกรณ์  เครื่องใช้ตามวัฒนธรรมพื้นเมือง  ของชาวล้านนา  การประกอบอาหาร  ศิลปการตกแต่งอาหารแบบชาวล้านนา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ เพื่อปรับปรุงการยกตัวอย่างให้มีความทันสมัยตรงตามยุคการเปลี่ยนแปลง 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอาหารพื้นบ้านล้านนา  วัตถุดิบ  เครื่องปรุงอาหาร  การเลือกใช้อุปกรณ์  เครื่องใช้ตามวัฒนธรรมพื้นเมือง  ของชาวล้านนา  การประกอบอาหาร  ศิลปการตกแต่งอาหารแบบชาวล้านนา
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ปฏิบัติตามกฎหมาย  กฎ ระเบียบ  ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับอาหาร ล้านนา  ฝึกปฏิบัติทำอาหารล้านนา กำหนดให้นักศึกษาจัดสำรับอาหารที่เหมาะสมตามช่วงเวลาและโอกาส มอบหมายโครงงานอาหารที่เป็นอาหารประจำจังหวัดตาก
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2   มีการทำการกำหนดรายการอาหารที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม  1.3.3   ประเมินผลการปฏิบัติอาหารตามรายการอาหารที่กำหนดขึ้น  1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอโครงงานที่มอบหมาย
2.1.1    เข้าใจองค์ความรู้ในรายวิชาอย่างกว้างขวางเป็นระบบ  2.1.2    สามารถกำหนดรายการอาหารให้เหมาะสมในโอกาส
2.1.3   สามารถเลือกใช้วัตถุดิบ  เครื่องปรุงให้เหมาะสม ถูกต้องตามเอกลักษณ์อาหารล้านนา 2.1.4   สามารถบูรณาการความรู้ทั้งในรายวิชา  และวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อต่อยอดองค์
บรรยาย  ฝึกปฏิบัติงาน จัดสำรับอาหารประจำจังหวัดตาก  และอาหารล้านนา ตามความนิยมของท้องถิ่น  หลังจากฝึกปฏิบัติมีการประเมินลักษณะ  รสชาติ และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปในโครงงานและนำเสนอผล งานที่ผ่านการทดสอบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2.3.2   ประเมินจากการจัดสำรับ และปฏิบัติการทำอาหาร  ที่เป็นเอกลักษณ์อาหารล้านนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีฝึกการจัดสำรับที่เหมาะสมตามเอกลักษณ์อาหารล้านนา ทำโครงงานอนุรักษ์อาหารล้านนาท้องถิ่นจังหวัดตาก  สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน  และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
3.2.1  มอบให้นักศึกษาจัดรายการอาหารที่เหมาะสมสำหรับโอกาสต่างๆแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานอาหารท้องถิ่นแต่ละภาค  3.2.2   ฝึกปฏิบัติประกอบรายการอาหารที่เหมาะสมแต่ละท้องถิ่น  3.2.3   ให้นักศึกษาทำโครงงานตามความสนใจแต่ละท้องถิ่นแต่ละภาค  
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการจัดรายการอาหารล้านนาตามโอกาสและเทศกาล  3.3.2   วัดผลจากการฝึกปฏิบัติ  การนำเสนอผลงาน  3.3.3   สังเกตผลงานการนำเสนอผลงาน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันในการทำงานร่วมกัน  4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม  4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 
4.2.1   จัดทำการสำรับรายการอาหารล้านนา  และความสนใจของบุคคลในแต่ละกลุ่ม  4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น โครงงานและรายงานหน้าห้องเรียน  4.2.3   การฝึกปฏิบัติตามรายการอาหารที่จัดให้มีเอกลักษณ์
4.3.1   ประเมินตนเอง  4.3.2  ประเมินจากผลการนำเสนอโครงงาน  4.3.3   ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน    
 
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณปริมาณวัตถุดิบ  ปริมาณอาหารที่ได้ตามเมนูอาหารที่กำหนดขึ้น  5.1.2   พัฒนาทักษะในการฝึกปฏิบัติ  5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์รายการอาหารที่เหมาะสมในสำรับอาหารในแต่ละโอกาส  5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่เหมาะสมสำหรับโอกาสต่างๆในแต่ท้องถิ่นแต่ละภาค  แก้ไข
5.2.1   มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น  5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม 2ความรู้ 3ทักษะทางปัญญา 4ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิคชอบ 5ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 1 3 3 4 1
1 BSCFN119 อาหารล้านนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ ครงงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 , 15 9 17 15 % 30 % 30 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ 15 16 ตลอดภาคเรียน 15%
           รัตนา พรหมพิชัย และรังสรรค์ จันต๊ะ.  (2542).   หนึ้ง.  ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ             (เล่ม 14,หน้า 7339). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. วิมลพรรณ ลิขิตเอกราช.  (2545).  ตำนานน้ำพริกล้านนา.  ใน น้ำพริกล้านนา.  ฉลาดชาย รมิตานนท์             (หน้า 33-39). กรุงเทพฯ: ครัวบ้านและสวน.
ฉลาดชาย รมิตานนท์.  (2545).  น้ำพริกล้านนา.  . กรุงเทพฯ: ครัวบ้านและสวน.
บุญยัง ชุมศรี และชรินทร์ แจ่มจิตต์.  (2542). ยำ ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ (เล่ม 11,             หน้า 5517). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. บุปผา คุณยศยิ่ง.  (2542).  มอก.  ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ (เล่ม 10, หน้า 5077).             กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
รัตนา  พรหมพิชัย.  (2542).  แกง.  ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ (เล่ม 1, หน้า 472-491)
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
รายงานโครงงาน ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน ผลการเรียนของนักศึกษา 
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
ประเมินโดยระบบมหาวิทยาลัย
นำผลประเมินแต่ละด้านมาปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  3.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาอาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้    ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ