การบริหารการผลิต

Production Management

ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะความสำคัญของการผลิต และปัจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจ การผลิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิต การจัดองค์เพื่อการผลิต การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกำลังการผลิต การวางแผนและกระบวนการผลิต การเลือกที่ตั้งโรงงาน การควบคุมคุณภาพและปริมาณ ระบบการบำรุงรักษา ระบบการจัดซื้อและระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะความสำคัญของการผลิต และปัจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจ การผลิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิต การจัดองค์เพื่อการผลิต การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกำลังการผลิต การวางแผนและกระบวนการผลิต การเลือกที่ตั้งโรงงาน การควบคุมคุณภาพและปริมาณ ระบบการบำรุงรักษา ระบบการจัดซื้อและระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
1 ชั่วโมง
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม


ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงาน

ภายในเวลาที่กำหนด
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ


การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
สามารถ บูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำรายงาน


ให้นักศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์ตรง โดยการศึกษาดูงาน
พิจารณาจากงานที่มอบหมาย


ประเมินผลจากการทำงาน การทดสอบย่อย ทำแบบฝึกหัด
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร


มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
ประเมินจากงานที่มอบหมาย

 

ตอบคำถามในห้องเรียน
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีงามมีความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
กำหนดการทำงานเป็นกลุ่มหมุนเวียนกันเป็นผู้นำ
ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์ และนักศึกษา
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมการค้นคว้า และนำเสนอ
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม คุวามรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทัักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG108 การบริหารการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1 ถึง หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 ถึง หน่วยที่ 5 หน่วยที่ 6 ถึง หน่วยที่ 7 หน่วยที่ 8 ถึง หน่วยที่ 9 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาคเรียน ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาคเรียน 4 8 12 17 60%
2 หน่วยที่ 1 ถึง หน่วยที่ 9 แบบฝึกหัด การนำเสนอในชั้นเรียน 1-7, 9-15 30%
3 การเข้าชั้นเรียน ความเอาใจใส่ในห้องเรียน 15 10%
พีระ ยวงสุวรรณ. กลยุทธ์ในงานบำรุงรักษา. อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ . สถาบันไทย-เยอรมัน , กรุงเทพฯ: 2545
นภัสสวงค์ โอสถศิลป์. สถาบันพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต , กรุงเทพฯ : 2540
ธานี อ่วมอ้อ. การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม. พีคบูลส์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ :2546
ธานี อ่วมอ้อ. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง. พีคบูลส์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ :2547
พูลพร แสงบางปลา. การเพิ่มผลผลิตโดยการบำรุงรักษา (TPM ). คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ :2538
เสนาะ ติเยาว์ . หลักการบริหาและการวางแผน. พิมพ์ที่หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ : 2543
สมศักดิ์ มาอุทรณ์. การดำเนินกิจกรรมกลุ่มย่อย TPM อย่างง่ายๆ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) . บริษัทประชาชนการพิมพ์, กรุงเทพฯ :2538
ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช. การจัดการวิศวกรรมซ่อมบำรุง เชิงปฏิบัติ . พิมพ์ที่ ส. เอกชัยเพรส ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพฯ :2549
สุพร อัศวินนิมิตรและธีรพร พัดภู่. วิศวกรรมการบำรุงรักษา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : 2550
วีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. คู่มือวิศวกรโรงงาน วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สถิติการพิมพ์, กรุงเทพฯ : 2525
ณรงค์ ณ เชียงใหม่. การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม.ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ . สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ : 2537
สมัคร จรูญพันธ์. พื้นฐานวิชาชีพวิศวกรรม. มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพฯ : 2539
โกศล ดีศิลธรรม. การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม. สำนักพิมพ์บริษัท เอ็มแอนด์ อี จำกัด, กรุงเทพฯ : 2547
 
ชูเวช ชาญสง่าเวช. การจัดการทางวิศวกรรม. ศูนย์หนังสือจุฬา. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : 2539
ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช. การจัดการวิศวกรรมซ่อมบำรุง เชิงปฎิบัติ .พิมพ์ที่ บริษัท ซีเอ็ดยูเดชั้น , กรุงเทพฯ : 2549
กฤชชัย อนรรฆมณี และ เชษฐพงศ์ สันธารา. พลังการสื่อสารเพิ่มประสิธิภาพองค์การ. พิมพ์ที่ซีโนดีไซน์, กรุงเทพฯ : 2546
สมชัย อัครทิวา. TPM เพื่อการปฏิรูปการผลิต. ฉบับอุตสาหกรรมกระบวนการ . สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). พิมพ์ที่ ส.ส.ท. , กรุงเทพฯ : 2547
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ