การออกแบบวิศวกรรม

Engineering Design

          เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การทำโครงการออกแบบทางวิศวกรรมเกษตร   การกำหนดปัญหา ขั้นตอนการออกแบบ การระดมสมอง การหาผลเฉลยทางเลือกโดยใช้การสร้างสรรค์ เทคนิคการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ทางวิศวกรรม การยอมรับและตัดสินใจผลของการออกแบบ   โดยทีมออกแบบ การกำหนดสเปค การเลือกใช้วัสดุ การเลือกกระบวนการผลิต การนำเสนอทั้ง        ปากเปล่า แบบร่าง การเขียนแบบสั่งงาน การสร้างและวิเคราะห์แบบจำลอง
          2.1  เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
          2.2  เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนักศึกษาและความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
          2.3  เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
          เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การทำโครงการออกแบบทางวิศวกรรมเกษตร   การกำหนดปัญหา ขั้นตอนการออกแบบ การระดมสมอง การหาผลเฉลยทางเลือกโดยใช้การสร้างสรรค์ เทคนิคการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ทางวิศวกรรม การยอมรับและตัดสินใจผลของการออกแบบ   โดยทีมออกแบบ การกำหนดสเปค การเลือกใช้วัสดุ การเลือกกระบวนการผลิต การนำเสนอทั้งปากเปล่า แบบร่าง การเขียนแบบสั่งงาน การสร้างและวิเคราะห์แบบจำลอง
อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ต่อกลุ่มเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าขอรับคำปรึกษาทั้งแบบเผชิญหน้า (Face to Face) โดยผ่านการคัดกรองเพื่อป้องกันการระบาดของโรค COVID 19 หรือผ่านสื่อเครือข่ายสังคม (Social media) /MS Team
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1 ยกกรณีศึกษาในสถานการณ์ปัจจุบัน ในด้านคุณธรรม จริยธรรม มาสอนในช่วงเริ่มต้นชั่วโมงสอนแต่ละครั้ง
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของวิชาการออกแบบวิศวกรรม
2.1.2 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.2.1 ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาการออกแบบวิศกรรม
2.3.1 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.2 การสอบย่อย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
2.3.3 ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ และประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนเสมือน โดยใช้ MS Team และสื่อสังคมออนไลน์
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1  กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
3.2.2  การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าผ่านชั้นเรียนเสมือน โดยใช้ MS Team และสื่อสังคมออนไลน์
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนเสมือน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา เป็นต้น
4.1.1 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา และสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.1.1 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการงานออกแบบวิศวกรรม
5.2.2 ค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน และการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
6.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาการออกแบบวิศวกรรม ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.3.1 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน และประเมินจากโครงงานของนักศึกษาที่มอบหมายให้ทำ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG107 การออกแบบวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.2, 4.3, 4.4, 4.5, 4.6 สอบกลางภาค สอบปลายภาค การนำเสนอหน้าชั้นเรียน 9 ,18, และตลอดภาคการศึกษา 70%
2 4.3, 4.4, 4.5, 4.6 งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 4.1 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 แนวคิดการออกแบบเครื่องจักรกล (อ.ก้องเกียรติ ธนะมิตร)
-
3.1 Mechanical Engineering Design 7th Ed. Shigley.
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านระบบออนไลน์
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์การทำกิจกรรมของนักศึกษาระหว่างเรียน และโครงงานที่นักศึกษาทำส่ง
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 ผลการประเมินการสอนของอาจารย์
ปรับการสอนรายสัปดาห์โดยพิจารณาจากผลข้อ 2.1
          ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
          จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
      5.1 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ