การผสมเทียมสัตว์

Animal Artificial Insemination

1.1 รู้เกี่ยวกับประวัติและความเป็นมาของการผสมเทียมในสัตว์ 1.2 รู้เกี่ยวกับกายวิภาคและสรีวิทยาระบบสืบพันธุ์สัตว์เลี้ยง 1.3 รู้เกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อในระบบสืบพันธุ์ 1.4 รู้เกี่ยวกับการสร้างไข่และการเจริญของไข่วงรอบการเป็นสัด 1.5 รู้เกี่ยวกับการสร้างสเปิร์มและการเจริญของตัวอสุจิ , การรีดเก็บน้ำเชื้อสัตว์ 1.6 รู้เกี่ยวกับการผสมเทียมสัตว์ 1.7 รู้เกี่ยวกับการปฏิสนธิและการตั้งท้อง, การคลอด การฟื้นตัวหลังคลอด การให้น้ำนมและการอนุบาลลูกสัตว์ 1.8 รู้เกี่ยวกับโรคทางระบบสืบพันธุ์สัตว์
1.1 รู้เกี่ยวกับประวัติและความเป็นมาของการผสมเทียมในสัตว์ 1.2 รู้เกี่ยวกับกายวิภาคและสรีวิทยาระบบสืบพันธุ์สัตว์เลี้ยง 1.3 รู้เกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อในระบบสืบพันธุ์ 1.4 รู้เกี่ยวกับการสร้างไข่และการเจริญของไข่วงรอบการเป็นสัด 1.5 รู้เกี่ยวกับการสร้างสเปิร์มและการเจริญของตัวอสุจิ , การรีดเก็บน้ำเชื้อสัตว์ 1.6 รู้เกี่ยวกับการผสมเทียมสัตว์ 1.7 รู้เกี่ยวกับการปฏิสนธิและการตั้งท้อง, การคลอด การฟื้นตัวหลังคลอด การให้น้ำนมและการอนุบาลลูกสัตว์ 1.8 รู้เกี่ยวกับโรคทางระบบสืบพันธุ์สัตว์
เพื่อให้รายวิชามีความสมบูรณ์และสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยาระบบสืบพันธุ์  ระบบต่อมไร้ท่อในระบบสืบพันธุ์   การรวบรวมน้ำเชื้อ  การตรวจคุณภาพน้ำเชื้อ  การเจือจาง  การเก็บรักษาน้ำเชื้อ  การเป็นสัด เทคนิคการผสมเทียม  การอุ้มท้อง  การคลอด  ประสิทธิภาพการผสมเทียม  ความสมบูรณ์พันธุ์  โรคทางระบบสืบพันธุ์  การแก้ไขปัญหาทางระบบสืบพันธุ์สัตว์
2 ชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.การสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5.การประเมินตนเอง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG221 การผสมเทียมสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-8 การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในภาคปฏิบัติการ 1-17 10%
2 หน่วยที่ 4,5,6,7 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 4,6,10,14 10%
3 หน่วยที่ 1-5 การสอบกลางภาค 9 30%
4 หน่วยที่ 5-10 การทดสอบภาคปฏิบัติการ 10,13 20%
5 หน่วยที่ 5-10 การสอบปลายภาค 17 30 %
Bearden, H. J. and J. W. Fuquay.  1999. Applied Animal Reproduction.  5th ed. Prentic-Hall, Inc. New
Jersey.
ศรีสุวรรณ ชมชัย. 2531. คู่มือปฏิบัติการผสมเทียมในสุกร.  เรียบเรียงครั้งที่ 2,  ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการ
เลี้ยงสุกรแห่งชาติ, นครปฐม. 234 น.
สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย. 2553. การสืบพันธุ์ในโค. ภาควิชาศัลยศาสตร์และวิทยาการสิบพันธุ์คณะสัตว
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรชัย ชาครียรัตน์. 2545.  การสืบพันธุ์และการผสมเทียมโค-กระบือ. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 439 น.
ข้อมูลออนไลน์ต่าง ๆ อาทิเช่น เอกสารเผยแพร่ของกรมปศุสัตว์ เป็นต้น
ข้อมูลออนไลน์ต่าง ๆ ทางการวิจัยเช่น Journal of Animal Science เป็นต้น
 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
ให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชาหรือผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
กำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนในรูปแบบ การวิจัยในชั้นเรียน หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 
ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา  เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย เป็นต้น
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาในภาคเรียนถัดไป