อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น

Introduction to Agro-Industry

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกษตร องค์ประกอบคุณลักษณะการเสื่อมเสีย การเก็บรักษาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ หลักการและวิธีการแปรรูปการควบคุมและประเมินคุณภาพ มาตรฐานและข้อกำหนดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร ภาชนะบรรจุการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกษตร องค์ประกอบ คุณลักษณะการเสื่อมเสีย การเก็บรักษาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ หลักการและวิธีการแปรรูปการควบคุมและประเมินคุณภาพ มาตรฐานและข้อกำหนดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร และ ภาชนะบรรจุการพัฒนาผลิตภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและเหมาะสม
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ประกอบ การเสื่อมเสีย การเก็บรักษา วิธีการแปรรูป การควบคุมและการตรวจสอบคุณภาพอาหาร (ทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์และประสาทสัมผัส) ของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร Fundamental science of food: food composition, deterioration, storage conditions, processing methods, controlling and examining of food qualities (physical, chemical, microorganism and sensory) of raw materials and finish products, food packaging, food safety and food product development
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลและปรับเปลี่ยนตามเวลาของนักศึกษา หรือสามารถติดต่อกับอาจารย์ผู้สอนทางโทรศัพท์และทาง E-mail
มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม และจริยธรรม ของการใช้สารเคมี หรือสารเจือปนในอุตสาหกรรมอาหาร โดยตระหนักถึงผู้บริโภคเป็นสำคัญ
. ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และจำนวนครั้งที่นักศึกษาทีถูกร้องเรียนเรื่องการกระทำทุจริต
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎี
2. ตั้งทำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายโดยใช้หลักการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินงานคะแนนสอบ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
ไม่มี
ไม่มี
มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล