คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Mathematics

1.1    เข้าใจทฤษฎีและการนำมาใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน
1.2    เข้าใจทฤษฎีของเวคเตอร์ การวิเคราะห์เวคเตอร์พร้อมทั้งการนำมาใช้งาน
1.3    เข้าใจวิธีการอนุกรมฟูเรียร์ และการนำมาวิเคราะห์รูปคลื่นทางไฟฟ้า
1.4   เข้าใจวิธีการแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์โดยวิธีการแปลงลาปลาซและนำมาแก้ปัญหาทางวงจรไฟฟ้า
1.5   เห็นความสำคัญของการนำเอาความรู้ไปอธิบายพฤติกรรมการทำงานของระบบไฟฟ้า
2.1    ปรับปรุงกระบวนการจักการเรียนการสอน โดยใช้กรอบแนวคิดแบบ CDIO มาประยุกต์ใช้ โดยการเลือกหน่วยเรียน/บทเรียนที่เหมาะสมสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เป็นแนวทาง
2.2    ปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน
ศึกษาเกี่ยวกับ การใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน การวิเคราะห์เวคเตอร์และการนำไปใช้ ทฤษฎีอนุกรมฟูเรียร์และการนำไปใช้ในการวิเคราะห์รูปคลื่นไฟฟ้า การแปลงฟูเรียร์ ทฤษฎีการแปลงลาปลาซ และการนำไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
 -     อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านป้ายประกาศของสาขาวิชา
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในสร้างหรือใช้ซอฟแวร์ด้วยความรู้จากระเบียบวิธีเชิงเลข อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับการคำนวณแบบต่าง ๆ อภิปรายกลุ่มหรือรายบุคคล กำหนดให้นักศึกษาหาแบบฝึกหัดที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลาข้อง มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ประเมินผลการนำเสนอรายงานแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
นักศึกต้องมีความรู้เกี่ยวกับวิชา คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า  มีคุณธรรม จริยธรรม ต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้ เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
                   (1)    อธิบายทฤษฎีและการนำมาใช้งานของจำนวนเชิงซ้อน
                   (2)    อธิบายทฤษฎีของเวคเตอร์ การวิเคราะห์เวคเตอร์พร้อมทั้งการนำมาใช้งาน
                   (3)    อธิบายวิธีการอนุกรมฟูเรียร์ และการนำมาวิเคราะห์รูปคลื่นทางไฟฟ้า
                   (4)    อธิบายวิธีการแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์โดยวิธีการแปลงลาปลาซ และนำมาแก้หาทางวงจรไฟฟ้า
การทดสอบมาตรฐานนี้สามารถทำได้ โดยการทดสอบจากข้อสอบของวิชา คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า  ในชั้นเรียนตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร
บรรยาย  อภิปราย สาธิตแต่และทดสอบ กำหนดทำงานกลุ่มหรือรายบุคคล การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาตัวอย่าง ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อยท้ายบทเรียน

                                   2.  แบ่งการสอบ ออกเป็นทีละหน่วย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เน้นให้นักศึกษาคิดหา      เหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง     ไม่ใช่ลักษณะท่องจำ
มอบให้นักศึกษา ทำแบบทดสอบพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
ผลสอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ปัญหาโจทย์ วัดผลจากการประเมินผลสอบกลางภาคและปลายภาค

                                   3.  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
บรรยาย  อภิปราย สาธิต แต่ละทดสอบย่อย มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอแบบฝึกหัด
ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม

                                   3.  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ทักษะการคิดคำนวณ พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ เชิงตัวเลข พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา

                                   4.  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ทักษะการคิดคำนวณ พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ เชิงตัวเลข พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมทางคณิตศาสตร์

                                   3.  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
                                    1.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
                                    2.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
                                    3.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
                                    4.  มีจรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม
(1) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
(2) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
(1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
(1) ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านการวิเคราะห์ตัวเลข 6. ด้านการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE405 คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.5,2.1, 2.2,2.4, 3.1-3.4 สอบหน่วยที่ 1 สอบหน่วยที่ 2 (สอบกลางภาค) สอบหน่วยที่ 3 สอบหน่วยที่ 4 (สอบปลายภาค) 5 9 13 17 20% 20% 20% 20%
2 1.2,1.5 2.1,4.4,4.6 5.2 ส่งรายงานแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 ส่งรายงานแบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 ส่งรายงานแบบฝึกหัด หน่วยที่ 3 ส่งรายงานแบบฝึกหัด หน่วยที่ 4 ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.2,1.5 4.4-4.6 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย ทรงผม การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
ธีระยุทธ  บุนนาค . UUUUเอกสารประกอบการบรรยายวิชาคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า1UUUU.        มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาวิทยาเขตพายัพ.เชียงใหม่: ม.ป.ท. นิรันดร์  คำประเสริฐ .UUUUคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 1 อนุกรมฟูเรียร์ และฟูเรียร์ทรานสฟอร์มUUUU.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,  2537. นิรันดร์  คำประเสริฐ.UUUUคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 2 ลาปลาสทรานสฟอร์มและการประยุกต์ใช้UUUU.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,  2537. นิรันดร์  คำประเสริฐ. UUUUคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 3 การวิเคราะห์เชิงซ้อน เล่ม 1UUUU.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,  2537. พฤทธิ์  พุทธางกุล  และพิพัฒน์   พัดคุ้ม. UUUUวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 1UUUU . กรุงเทพฯ  :  โครงการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี,  2521. พฤทธิ์  พุทธางกุล  และพิพัฒน์   พัดคุ้ม. UUUUวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 2UUUU . กรุงเทพฯ  :  โครงการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี,  2521. ไพรัช  ธัชยพงษ์. UUUUวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 2UUUU . กรุงเทพฯ  :  อีเลคทรอนิคส์เวิลด์, 2525. วรางคณา  ร่องมะรุด.  UUUUการวิเคราะห์เวกเตอร์UUUU.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง  :  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  2538. Hsu,  Hwei  P.,  UUUUVector  AnalysisUUUU.   New York  :  Simon and Schuster, 1969. Joseph, A.E.  and  JE  SWANN.  UUUUElectric  CircuitUUUU. New York  :  McGraw-Hill, 1975. Kreyszig,  E.,  UUUUAdvanced Engineering MathematicsUUUU.   New York  :  John  Wiley  and Sons, 1988  (sixth edition) Lathi,  B.P.,  UUUUSignals,  Systems  and  CommunicationsUUUU.   New York  :  John  Wiley  and Sons,  1965. Michael,  D.C.,  UUUUCommunication SystemsUUUU.   New York  :  McGraw-Hill, 1975. Paliouras,  J.  D.,  UUUUComplex  Variables for Scientists and EngineersUUUU.   :  Macmillan Publishing Co., Inc., 1975. Simons,  S.,  UUUUVector Analysis for mathematicians, Scientists and EngineersUUUU.   London  :  Pergamon  Press Ltd., 1970.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.   กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
       1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
       1.2   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
       1.3   ข้อเสนอแนะระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.   กลยุทธ์การประเมินการสอน
      ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
       2.1   การสังเกตการณ์เรียนของนักศึกษา
       2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
       2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.   การปรับปรุงการสอน
      หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
       3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
       3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.   การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
      ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
       4.1   การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
       4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.   การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
      จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
       5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ                สะท้อนผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา
       5.2   ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบ มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ข้อ 4.