นวัตกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

Food Products and Innovation Development

1.1 มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 สามารถพัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรมในการผลิตผลิตภัณฑ์และบูรณาการองค์ความรู้อื่นในสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
นฤดม บุญ-หลง. 2532. อุตสาหกรรมเกษตรเพื่อความหวังใหม่. กองทุนเพื่อการศึกษาวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 132 น.
นิรมล อุตมอ่าง. 2540. เอกสารประกอบการสอน : วิชา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง, ลำปาง. 180 น.
ไพโรจน์ วิริยะจารี. 2545. หลักการทางเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 436 น.
วิชัย หฤทัยธนาสันติ์. 2527. เอกสารประกอบคำสอนวิชา PD 351 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 136 น.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ, จิรศักดิ์ จิยะจันทน์, ชวลิต ประภวานนท์, ณดา จันทร์สม และ วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์. 2540. การวิจัยตลาด. A. N. การพิมพ์, กรุงเทพฯ. 310 น.
หทัยรัตน์ ริมคีรี. 2542. เอกสารประกอบการสอน: การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร 1 (054-351). ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 23 น.
คณาจารย์ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2549. การพัฒนผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 466 น.
Angle D. And V. Daniel. Design and Analysis of Experiments. Springer, New York. 740 p. Bruce T. and K. G. Grunert. 1997. Product and Process Innovation in Food Industry. Blackie Academic & Professional, USA. 242 p.
Fuller, G.W. 1994. New Food Product Development from Concept to Marketplace. CRC Press, Inc., Florida. 270p.
Hu, Ruguo. 1999. Food Product Design : A computer -Aided Statistical Approach. Technomic Publishng Co. , Inc. Pennsylvania, USA. 225 p.
และหนังสืออื่น ๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ฯ
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (2539). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 504 หน้า.
นิธิยา รัตนาปนนท์. (2539). เคมีอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 340 หน้า.
www.fda.moph.go.th
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การสอนถูกประเมินโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน นักศึกษาประเมินผ่านระบบการประเมินของมหาวิทยาลัย และผู้สอนประเมินโดยการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
การสอนถูกปรับปรุงโดยนำข้อมูลด้านวิชาจากที่เป็นข้อมูลใหม่ ข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัยข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมาและคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาเคมีอาหาร มาปรับปรุงเนื้อหา บทปฏิบัติการ และวิธีการสอนให้สามารถสอบสนองต่อความต้องการของนักศึกษา ความรู้ที่เปลี่ยนไปให้ดียิ่งขึ้น
คณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการจากนักศึกษา คะแนนสอบของนักศึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และปัญหาที่นักศึกษาเข้าปรึกษากับอาจารย์ โดยอาจารย์ผู้สอนนำข้อมูลดังกล่าวเข้าขอคำปรึกษาภายในที่ประชุมกับอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านอื่นๆ เพื่อร่วมกันแนะนำแนวทาง วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหา อีกทั้งยังนำข้อมูลดังกล่าวไปทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ หากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมภาควิชาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป