ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง

High Voltage Engineering Laboratory

1.1 นักศึกษาสามารถปฏิบัติ หน่วย สัญลักษณ์และหลักการทำงานของเครื่องมือมาตรฐานทางไฟฟ้า
1.2 นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสร้างแรงดันสูงด้วยวิธี Van de graaff
1.3 นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสร้างและวัดแรงดันสูงกระแสสลับ
1.4 นักศึกษาสามารถปฏิบัติการวัดและสร้างแรงดันสูงกระแสตรง
1.5 นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสร้างและปรับคลื่นแรงดันอิมพัลส์
1.6 นักศึกษาสามารถปฏิบัติการทดสอบลูกถ้วยตามมาตรฐาน IEC
เพื่อให้เนื้อหาหลักสูตรใหม่มีความสอดคล้องกับมาตรฐานของสภาวิศวกร สมาคมระดับชาติ และนานาชาติ อีกทั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านในการนำ ความรู้ ความเข้าใจในการสร้างและวัดแรงดันสูง เพื่อประยุกต์ใช้งานได้จริง
  ปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนในวิชา ENGEE121 การกำเนิดและการใช้ไฟฟ้าแรงสูง เทคนิคการวัดไฟฟ้าแรงดันสูง สนามไฟฟ้าและเทคนิคการฉนวน การเกิดเบรกดาวน์ในไดอิเล็กตริกที่เป็นก๊าซ ของเหลวและของแข็ง การทดสอบวัสดุและอุปกรณ์ไฟฟ้าด้วยแรงดันสูง แรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่าและสวิตชิ่ง การป้องกันฟ้าผ่า
อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
          พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูล
ส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธ์ิทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธ์ิทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง   และลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการวัดทางไฟฟ้าและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่ใช้วัดแรงดันสูง
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ปฎิบัติการในห้องปฎิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นา มาทา รายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
เทคนิคการสร้างแรงดันสูงกระแสตรง แรงดันสูงกระแสสลับ การสร้างแรงดันอิมพัลส์ การวัดแรงดันสูงด้วยแกปทรงกลม และโวลต์เตจดิไวเดอร์ ชนิดต่างๆ
เน้นปฎิบัติการในห้องปฎิบัติการ
 
2.3.1 ประเมินจากการนำ เสนอผลการค้นคว้าข้อมูล รายงานกลุ่ม
2.3.2 การมีส่วนร่วมในการเรียน และการตรงต่อเวลา
2.3.3 ความปลอดภัยในการปฎิบัติการ
       พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
3.2.1 การสอนโดยให้นักศึกษามีความรู้เข้าใจในเรื่องทฤษฎีพื้นฐานของการวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่ใช้วัดแรงดันสูง
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา
3.2.3 การมอบหมายปัญหาให้นักศึกษาร่วมกันระดมสมองเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1 สอบปฎิบัติ
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำ และผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
 
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากการปฎิบัติการพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
 
ปฎิบัติการ
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE121 ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1.  วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง, ดร .สำรวย สังข์สะอาด, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2.  High Voltage Engineering, E.Kuffel , W.S.Zaengl, J.Kuffel, PergamonPress,2000.
3.  High Voltage Engineering, MS Naidu, V Kamaraju Tata McGraw-Hill Publishing,1982.
4.  High Voltage Engineering 2nd, C.L. Wadhawa  New age international limited publishersc,2007.
5.  http://www.ee.umanitoba.ca/~litang/whvri.html     Gallery for High Voltage Testing Facilities in WHVRI
6.  http://www.clarkson.edu/~mcgrath/hv.html       High Voltage Laboratories at Clarkson University
7.  http://eleceng.ucd.ie/research/highvoltage.htm    Dielectrics and High Voltage Engineering T. G. Gallagher
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ