การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง 1.2  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ และออกแบบ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.3  เพื่อให้นักศึกษานำหลักการในการเรียนรู้ไปพัฒนางานด้านต่าง ๆ
 
    2.1  ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูง     2.2  ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษาด้านการเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูงและเข้าใจคำสั่งดำเนินการต่าง ๆ
 
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การอันตรกิริยา (Interaction) ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์วิธีการออกแบบ และพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทางวิศวกรรม
 
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านบอร์ดติดประกาศของสาขาวิชา
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ จำนวน 1 ชั่วโมง    
             (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1)   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสีย สละ และ ซื่อสัตย์สุจริต (2)   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ   รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 
(1) ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
(2) สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง สังคม คุณธรรม และจริยธรรม
(3) ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
(4) ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ  
(1)  การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
(2)  พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
(3)  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
(1)   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (2)  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขา วิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
 
(1) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ (2)  มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน (3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
(1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ (2) การทดสอบย่อย  (3) พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
 
(1)  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี (2)  สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบ การตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3)  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 
(1) ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง (2) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ (3) มอบหมายงานโครงงานโดยใช้หลักการวิจัย (4) การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
 
(1) ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา (2) ประเมินผลจากการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง (3) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
 
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(1) สอนทฤษฎีด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาระดับสูง
(2) ให้ความสำคัญในการทำงานให้เกิดความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
(3) ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
(4) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(1) ประเมินจากการสอบภาคทฤษฎีและงานที่ได้รับมอบหมาย
(2) ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
(1)  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (2)  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (3)  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องได้
 
(1) ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
(2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
(3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 
(4) ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
 (1) ประเมินผลจากคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  (2) ประเมินจากผลงานการทดลองภาคปฏิบัติ และความสนใจต่อการเรียน
 
1) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครูการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
2) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอน รวมถึง ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่าง มีนวัตกรรม
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคล และความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัยการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCC826 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 - 2.1.5, 3.1.1 - 3.1.5, 2.1.1 - 2.1.5, 3.1.1 - 3.1.5 สอบกลางภาค (ทฤษฎี), สอบกลางภาค (ปฏิบัติ), สอบปลายภาค (ทฤษฎี), สอบปลายภาค (ปฏิบัติ) 8, 8, 17, 17 20%, 10%, 20%, 10%
2 3.1.1 - 3.1.5, 4.1.1 - 4.1.5, 5.1.1 - 5.1.5, 6.1.1 - 6.1.2 การส่งแบบฝึกหัดในห้องเรียนทฤษฎี, การส่งงานตามที่มอบหมาย, การเขียนโปรแกรมทุกใบงาน, การรันโปรแกรมผ่านทุกขั้นตอนของใบงาน ตลอดภาคการศึกษา 7.5%, 7.5%, 5%, 5%
3 1.1.1 - 1.1.5, 3.1.1 - 3.1.5 การเข้าชั้นเรียน, การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
1. Brian W. Kernighan and Dennis M.Rhtchie, The C Programming Language, , Prentice Hall, 1988. 2. Kyle Loudon, Mastering Algorithm with C, O’Reilly, 1999. 3.กิตินันท์ พลสวัสดิ์. รวมโจทย์และแบบฝึกหัดภาษา C+Java. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : ไอดีซี พรีเมียร์, 2554. 4. ประภาพร ช่างไม้. คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษา C ฉบับผู้เริ่มต้น. พิมพ์ครั้งที่1. นนทบุรี : อินโฟเพรส, 2551. 5.มนตรี พจนารถลาวัณย์. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยเทอร์โบซี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2540. 6. สมชาย รัตนเลิศนุสรณ์. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาซี. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทยญี่ปุ่น), 2546
 
Website ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลงานวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้ สื่อการสอนในรายวิชา
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้ สื่อการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - ปรับปรุงสื่อการสอนคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมช่วยแสดงผลการจำลองการเขียนโปรแกรม -  ยกตัวอย่างการระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแสดงผลการจำลอง
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอ บการให้ คะแนนจากการสุ่ มต รว จ ผล งานข อ งนักศึกษาโดยอาจารย์ อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ เกี่ยวกับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ