ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น

Introduction to Finite Element Method

เพื่อให้นักศึกษาได้ทำการศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางด้านระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ วิธีการสติฟเนส การสร้างสมการของทรัส การสร้างสมการของคาน สมการโครงสร้างแบบเฟรม การสร้างสมการสติฟเนสสำหรับความเค้นและความเครียดระนาบ การวิเคราะห์ความเค้นสามมิติ ข้อพิจารณาทางปฏิบัติในการจำลอง ปัญหาการถ่ายเทความร้อนและของไหล และการประยุกต์ใช้งานในปัญหาทางด้านวิศวกรรมโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางด้านระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ วิธีการสติฟเนส การสร้างสมการของทรัส การสร้างสมการของคาน สมการโครงสร้างแบบเฟรม การสร้างสมการสติฟเนสสำหรับความเค้นและความเครียดระนาบ การวิเคราะห์ความเค้นสามมิติ ข้อพิจารณาทางปฏิบัติในการจำลอง ปัญหาการถ่ายเทความร้อนและของไหล และการประยุกต์ใช้งานในปัญหาทางด้านวิศวกรรมโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จ
อย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 การเข้าชั้นเรียนตรงตามเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.2 การทำงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การเคารพกฎระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.4 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายถึงหลักการที่สำคัญในทางทฤษฎีของรายวิชาระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น ซึ่งจะมีการใช้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมพื้นฐาน
2.2.2 มอบหมายงานในชั้นเรียนที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในงานจริงด้วยวิธีที่เหมาะสม
2.3.1 การสอบย่อย
2.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1 ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับรายวิชาระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น
3.2.2 มอบหมายงานในชั้นเรียนที่มีการวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลได้อย่างมีระบบ รวมถึงการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
3.3.1 การสอบย่อย สอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน
3.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 รู้จักบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 มอบหมายงานในชั้นเรียนที่เป็นการพัฒนาการเรียนรู้ และทำให้รู้จักบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย
4.3.1 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 มอบหมายงานในชั้นเรียนที่เป็นการฝึกทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน การสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ การใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม
5.3.1 การสอบย่อย สอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน
5.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 มอบหมายงานในชั้นเรียนที่เป็นการฝึกทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน การสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ การใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม
6.3.1 การสอบย่อย สอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน
6.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. ปราโมทย์ เดชะอำไพ. ไฟไนต์เอลิเมนต์ในงานวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 2560.
2. Daryl L. Logan. A First Course in the Finite Element Method, 5th ed, THOMSON.
3. ปราโมทย์ เดชะอำไพ. การประยุกต์ใช้ไฟไนต์เอลิเมนต์ ด้วย Solidworks Simulation. พิมพ์ครั้งที่ 3, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ. 2555.
4. ปราโมทย์ เดชะอำไพ. การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ด้วย Mathematica and Matlab. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 2560.
ตำราหรือเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น
ประเมินการสอนของอาจารย์ โดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบวิศวกรรมเครื่องกล ทำการประเมินออนไลน์
การนำเสนอระดับคะแนนหรือเกรดต่อที่ประชุมกรรมการบริหารหลักสูตรและกรรมการประจำคณะ
การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน        
ระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กำหนดให้มีการประชุมพิจารณาระดับคะแนนหรือเกรด ในระดับหลักสูตรและระดับคณะ เพื่อกลั่นกรองมาตรฐานระดับคะแนน เมื่อประกาศระดับคะแนนหรือเกรดแล้ว นักศึกษามีสิทธิในการขอตรวจสอบระดับคะแนน หากเห็นว่าผลการประเมินอาจมีความผิดพลาด
ผู้สอนจะประเมินเนื้อหาและวิธีการสอนจากการประเมินของนักศึกษา เพื่อทำการปรับปรุงเนื้อหาในทุก ภาคการศึกษา พร้อมข้อคิดเห็นเพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและการวัดผลให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป