แหล่งแร่

Ore Deposits

1.1  รู้ความหมายและลักษณะต่างๆ เกี่ยวกับแร่ สินแร่และแหล่งแร่
1.2  เข้าใจลักษณะและการเกิดของแหล่งแร่ชนิดต่างๆ
1.3  เข้าใจการสำรวจหาแหล่งแร่ด้วยวิธีการต่างๆ
1.4  เข้าใจการตรวจลองแร่ในการสำรวจแร่
1.5  เข้าใจการหาความสมบูรณ์และปริมาณสำรอง
1.6  เข้าใจชนิดและลักษณะของแหล่งแร่ไทย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับแหล่งแร่และชนิดของแหล่งแร่แบบต่างๆ  เข้าใจวิธีการแสวงหาแหล่งแร่ และสามารถจะสำรวจและหาปริมาณสำรองของแหล่งแร่ได้  เพื่อเตรียมความพร้อมและสอดคล้องกับแนวโน้มการขาดแคลนแหล่งแร่ที่จะเปิดดำเนินการทำเหมืองผลิตสินแร่ขึ้นมาใช้ประโยชน์ในอนาคต และยังช่วยให้การดำเนินการขุดผลิตสินแร่ในปัจจุบันได้ดีและราบรื่นอีกด้วย
ศึกษาเกี่ยวกับคำยามและความหมายเกี่ยวกับแหล่งแร่  การเกิดของแหล่งแร่ การจำแนกชนิดของแหล่งแร่  วิธีการสำรวจหาแหล่งแร่  การประเมินปริมาณสำรองแหล่งแร่
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1.  เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับควาสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4. สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1.  บรรยายพร้อมยกประเด็นตัวอย่างเกี่ยวกับจริยธรรม ความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพด้านเหมืองแร่ การนำเอาวิชาชีพไปใช้อย่างซื่อสัตย์สุจริต  ไม่ใช้ วิชาชีพในการแสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึงสังคมและผู้ประกอบการที่อาจจะได้รับความเสียหายได้
1.2.2. ให้มีการอภิปรายแสดงความเห็น ความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2.3 ให้นักศึกษาค้นคว้าปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในการใช้วิชาชีพและนำมาเสนออภิปรายกลุ่ม 
1.2.4. ให้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
1.3.1   ประเมินผลการนำเสนออภิปรายตามที่มอบหมาย
1.3.2   ประเมินผลพฤติกรรมความรับผิดชอบ ในการรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3   ประเมินผลจากการตรงเวลา วินัย การปฏิบัติตนตามกฏระเบียบของสถาบันฯ
1.3.4   ประเมินการทุจริตในการสอบ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะแหล่งแร่แต่ละชนิด หลักการสำรวจหาปริมาณสำรองแหล่งแร่
2.1.2  มีความรู้ และสามารถนำความรู้เกี่ยวกับแหล่งแร่มาใช้ในการประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนในการทำเหมืองแร่
2.1.3  สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในการขุดผลิตแร่ด้วยการใช้หลักวิชาความรู้ด้านแหล่งแร่ และยังสามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาวิธีการด้านนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ผลดียิ่งขึ้น
2.1.4  สามารถใช้ความรู้ในวิชาด้านแหล่งแร่ ให้การดำเนินงานด้านเหมืองแร่ได้ผลดี ประหยัด และเกิดปัญหาน้อยลง
2.2.1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประเด็นเกี่ยวกับแหล่งแร่ การสำรวจหาปริมาณสำรอง และการประเมินแหล่งแร่  โดยยกกรณีตัวอย่างแหล่งแร่ปัจจุบันของประเทศไทย
2.2.2  มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะและปัญหาของแหล่งแร่ โดยเฉพาะของประเทศไทย
2.2.3  ให้มีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแหล่งแร่ และการประเมินความเป็นไปได้ในการทำเหมืองแร่ในปัจจุบัน
2.2.4  ให้โจทย์ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับแหล่งแร่ การสำรวจ การหาปริมาณสำรอง และแหล่งแร่ของประเทศไทย
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากการตอบโจทย์ปัญหาที่มอบหมายให้
2.3.3  ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในเนื้อหาต่างๆ
2.3.4  ประเมินจากผลการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
 
3.1.1  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและรอบคอบในการตัดสินใจปัญหาเกี่ยวข้องกับแหล่งแร่
3.1.2 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแหล่งแร่และการประเมินความเป็นไปได้ในการดำเนินการทำเหมืองแร่ในแหล่งแร่นั้นๆ
3.1.3  สามารถคิดและใช้ข้อมูลด้านแหล่งแร่มาประกอบการตัดสินใจในการดำเนินการทำเหมืองแร่  เพื่อให้เกิดปัญหาน้อย และมีประสิทธิภาพสูงในการผลิตสินแร่
3.2.1   มอบหมายให้ค้นคว้าเกี่ยวกับแหล่งแร่และการดำเนินการประเมินความเป็นไปได้ในการทำเหมืองแร่
3.2.2   ให้อภิปรายเสนอประเด็นทำการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งแร่ และการดำเนินการพัฒนาแหล่งแร่
3.2.3   ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ เกี่ยวกับแหล่งแร่
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  โดยมีการวิเคราะห์ปัญหา รวบรวมข้อมูล และใช้วิจารณญาณในการหาสาเหตุและการแก้ไขปัญหา
3.3.2   ประเมินจากการอภิปรายและนำเสนอกรณีศึกษา
3.3.3   ประเมินจากการตอบโจทย์ปัญหา
4.1.1   รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.1.2   สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ
4.1.3   สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.2.1   มอบหมายงานและค้นคว้ารายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.3   มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำมาเสนอทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
4.3.2  ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
4.3.3   ประเมินจากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเพื่อน  
5.1.1   มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย
5.1.2   สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ค้นคว้ากรณีศึกษาจากเว็บไซต์
5.2.2   นำเสนอกรณีศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
5.3.1   ประเมินจากการเสนอกรณีศึกษาจากการค้นคว้า
5.3.2   ประเมินจากรายงานข้อมูลที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1.1  มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1  ให้มีการรับผิดชอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
6.2.2  ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
6.3.1   สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับความรับผิดชอบในเรื่องเวลา  วิธีการ และผลงานที่ได้รับ  การทำงานร่วมกัน
6.3.2   สอบปฏิบัติย่อยในแต่ละเรื่องที่ได้ฝึกปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
-  สุจิตร  พิตรากูล, 2530, แหล่งแร่และแร่ในอุตสาหกรรม, ภาควิชาธรณี คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
-  กรมทรัพยากรธรณี, 2545, 110 ปี กรมทรัพยากรธรณี กองวิชาการและวางแผน กรมทรัพยากรธรณี, กรุงเทพฯ.
-  งามพิศ  แย้มนิยม, 2543,ทรัพยากรแร่ในประเทศไทย, กองเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, กรุงเทพฯ.
-  กรมทรัพยากรธรณี, 2548, สมุดแผนที่ทรัพยากรธรณีประเทศไทย, กรมทรัพยากรธรณี, กรุงเทพฯ.
-  Waldemar Lindgren, 1933, Mineral Deposits, Mc Graw Hillbook company, Inc., Newyork. U.S.A.
-  Alan M.Bateman, 1959, Economic Mineral Deposits, John Wiley & Sons, Inc., Newyork.U.S.A.
-  Charles F.Park, Jr. and Roy A. Mac Diarmid, 1964, Ore Deposits, W.H.Freeman and Company, San Francico. U.S.A.
-  John Sinkankas, 1970, Prospecting for gemstone and minerals, Van nostrand Reinhold Company, Newyork.
-  G.J.J. Aleva and A.B. Westerhof, 1989, Geology of minerals deposits, Department of mineral exploration and exploration geophysics, Netherlands.
ไม่มี
-  Journal of Geology
-  Journal of  Mining
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
2.1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ