ระบบปฏิบัติการ

Operating Systems

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ โครงสร้างระบบปฏิบัติการ แนวคิดเชิงกระบวนการ การโปรแกรมแบบขนาน การซิงโครไนซ์กระบวนการ การจัดการกระบวนการ การจัดการหน่วยประมวลผล การจัดการหน่วยความจำ การจัดการระบบหน่วยความจำเสมือน ระบบการรับ-ส่งข้อมูล ระบบแฟ้ม การศึกษาตัวอย่างระบบปฏิบัติการในระบบคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ
เพื่อให้เนื้อหาในการเรียนการสอน ครอบคลุมแนวคิดของระบบปฏิบัติการที่มีการพัฒนาไปตามเทคโนโลยี และเทคนิคการแก้ปัญหาของระบบคอมพิวเตอร์ในแต่ละแบบ
ศึกษาแะลปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ชนิดของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ การแบ่งปันทรัพยากร การจัดการหน่ยประมวลผล การจัดการโพรเซสและเทรด การจัดการหน่วยความจำ การจัดการอุปกรณ์ การแบ่งความจำและชุดคำสั่งเป็นส่วนและเป็นหน้า หน่วยความจำเสมือน
 ขึ้นตอนการการจัดตารางการประเมินลผการทำงาน ปัญหาการติดตาย การป้องกันแหล่งทรัพยากร ความมั่นคงและความปลอดภัยของทรัพยากร การศึกษาตัวอย่างเป็นรายๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษา เป็นกลุ่มหรือเฉพาะราย ตามความต้องการ ผ่าน เครื่องมือการสื่อสารออนไลน์ ที่ https://www.facebook.com/groups/273538442683233/
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   เช่น การใช้ Wed-board โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มผึกให้รู้หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ฝึกการเป็นผู้นำ และผู้ตาม ไม่กระทำกรทุจริตในการสอบหรือ ลอกงานของผู้อื่น อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการยกย่องนักศึกษาที่ทำดี เสียสละ ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และสังคม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้องหาสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
2.2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบตัิดตั้งปรับปรุ่งและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีอุตสาหกรรมให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีต่างๆ
2.7. มีประสบการณ์ในกาพัฒนาและ /หรือการประยุกต์ใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ใช้งานได้จริง
2.8. สามารถบูรณรการความรู้ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย วิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้วิเคราะห์และประเมินหลักการในการแก้ปัญหาพื้นฐานในระบบคอมพิวเตอร์ของระบบปฏิบัติการ อันเป็นการศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นตัวกำหนด (Problem – based Learning) และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   มอบหมายงานในการพัฒนาโปรแกรมโดยใช้แนวคิดในการแก้ปัญหาพื้นฐานในระบบคอมพิวเตอร์ของระบบปฏิบัติการ  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2. สามารถสืบค้น ตีความและประเมินอุตสาหกรรมโดยใช้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำหัวข้อหรืองานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   ยกตัวอย่าง ถาม-ตอบ
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  และอภิปราย
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ ต้องใช้แนวคิดในแก้ปัญหาในระบบคอมพิวเตอร์ของระบบปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้คำสั่งของภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ และการประยุกต์ใช้อัลกอริทึมเพื่อแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ ตามหลักการแก้ปัญหาของระบบปฏิบัติการ
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงานที่มอบหมาย
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2. สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานกาณณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3. สามารถใช้ความรู้ในศสาตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสมของตนเองและของกลุ่ม
4.6.มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางิวชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรมร่วมกัน
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดการแก้ปัญหาพื้นฐานในระบบคอมพิวเตอร์ของระบบปฏิบัติการ
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย  
5.1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาดดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแแบของสื่อการนำเสนอ อย่างเหมาะสม
5.4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชืี่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
 
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้

จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ  ความถูกต้อง การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และความสามารถในการตัดสินใจ พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 1.3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้องหาสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบตัิดตั้งปรับปรุ่งและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีอุตสาหกรรมให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีต่างๆ 2.7 มีประสบการณ์ในกาพัฒนาและ /หรือการประยุกต์ใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณรการความรู้ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2. สามารถสืบค้น ตีความและประเมินอุตสาหกรรมโดยใช้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม 4.1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานกาณณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3. สามารถใช้ความรู้ในศสาตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสมของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางิวชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรมร่วมกัน 5.1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาดดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแแบของสื่อการนำเสนอ อย่างเหมาะสม 5.4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม 6.1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGCE105 ระบบปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4-2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6,1.7,2.1, 2.4-2.6, 3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.7, 3.1 ารเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Abraham Silberschatz, Peter B. Galvin, and Greg Gagne, “Operating System Concepts, 9th Ed.”, Wiley & Sons. Inc., 2013. Abraham Silberschatz, Peter B. Galvin, and Greg Gagne, “Operating System Concepts, 8th Ed.”, Wiley & Sons. Inc., 2010. ระบบปฏิบัติการ, พีระพนธ์ โสพัศสถิตย์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2552 คู่มือเรียนระบบปฏิบัติการ, อรพิน ประวัติบริสุทธิ์, โปรวิชั่น, กรุงเทพฯ, 2551
ไม่มี
Linux Tutorials: http://www.linux.com/learn/tutorials Linux Documentation: http://www.linux.com/learn/docs Microsoft Operating System Technologies: http://technet.microsoft.com/library
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ