คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับเบื้องต้น

Introduction to Computer for Textile, Fashion and Jewelry

เพื่อให้นักศึกษามีทักษะพื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ตั้งแต่การออกแบบลายทอ ลายถัก ลายพิมพ์ การเขียนแบบเสื้อผ้า การวาดภาพประกอบทางแฟชั่นและการวาดภาพเครื่องประดับด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะพื้นฐานในการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ การออกแบบลายทอ ลายถัก ลายพิมพ์ การเขียนแบบเสื้อผ้า การวาดภาพประกอบทางแฟชั่นและการวาดภาพเครื่องประดับด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ การออกแบบลายทอ ลายถัก ลายพิมพ์ การเขียนแบบเสื้อผ้า การวาดภาพประกอบทางแฟชั่นและการวาดภาพเครื่องประดับด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน สอนความรู้จรรยาบรรณทางด้านวิชาชีพ ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม 
มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ 
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
ให้นักศึกษาทดลองปฏิบัติงานจากตัวอย่างในการปฏิบัติงานจริง
วัดผลจากการประเมินจากการนำเสนอผลงาน
มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
มอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง และมอบหมายงานปฏิบัติทั้งแบบรายกลุ่มและรายบุคคล
ประเมินจากผลการเรียน และผลงานนำเสนอทั้งแบบกลุ่ม และรายบุคคล
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอ
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
การฝึกปฎิบัติ
ประเมินผลจากผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ108 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 9 และ 18 30
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 6.1-6.3 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน 60
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน 10
M. Kathleen Colussy, S. G. (2005). Rendering Fashion, Fabric and Prints with Adobe Photoshop. New Jersey, Pearson Education Ltd. 
Melanie Bowles, C. I. (2009). Digital Textile Design. London, United Kingdom, Laurence King Publishing. 
เผ่าภิญโญศ์ ฉิมพะเนาว์. (2551). การออกแบบลายทอผ้าด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ JK-Weave. เชียงใหม่, หจก.วนิดาการพิมพ์.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 
2.1   แบบประเมินผลการสอนจากนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์