ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
Human Computer Interaction
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางด้านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบมาตรฐานหลักสูตรระบบสารสนเทศทางธุรกิจ โดยมีการปรับปรุงให้ทันสมัยเหมาะสมกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน
แนวคิดและความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ การบูรณาการความรู้กับการรับรู้ ความรู้ความเข้าใจ อารมณ์ประสบการณ์ และการกระทำของมนุษย์ รวมถึงผู้บกพร่องทางการรับรู้ที่ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยี เทคโนโลยีด้านอินพุต และเอาต์พุต กระบวนการในการพัฒนาส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การออกแบบและพัฒนาส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การออกแบบและพัฒนาส่วนติดต่อกับผู้ใช้โดยให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง การทดสอบประเมินผลการใช้งานและสภาวะแวดล้อมของการใช้งาน การปรับปรุงส่วนติดต่อการใช้งาน กรณีศึกษาธุรกิจโดยใช้แนวคิดของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
2 ชั่วโมง
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 ให้นักศึกษาวิเคราะห์สิ่งที่ควรทำ และสิ่งที่ไม่ควรทำในการสร้างสรรค์ผลงาน
1.2.3 ให้นักศึกษานำเสนอผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ต่างๆ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลงานที่มอบหมาย
ความรู้ทางด้านการออกแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
2.2.1 บรรยาย และอภิปรายทฤษฎี ความรู้พื้นฐานต่างๆ และเครื่องมือที่จำเป็นและเกี่ยวข้องทางออนไลน์
2.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเนื้อหาที่ให้ในชั้นเรียน
2.2.3 สอนวิธีการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อจัดทำชิ้นงาน
2.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเนื้อหาที่ให้ในชั้นเรียน
2.2.3 สอนวิธีการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อจัดทำชิ้นงาน
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ การออกแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำผลงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.2.2 จัดให้มีการนำเสนอผลงานในรูปแบบที่เหมาะสม
3.2.3 วิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสียของผลงานที่สร้างขึ้น
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ผลงานที่จัดทำขึ้น
3.3.2 วัดผลจากการประเมินผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอผลงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากผลงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำสรุปผลการทำงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ผ่านสังคมออนไลน์
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสรุปรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ความสามารถในการออกแบบและสร้างผลงานตามที่โจทย์ที่กำหนด
กำหนดโจทย์ความต้องการของงาน แล้วให้นักศึกษาออกแบบและสร้างผลงาน อย่างน้อยสองชิ้นงานขึ้นไป โดยต้องมีทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
6.3.1 การสร้างผลงานได้ตรงตามที่โจทย์ต้องการ
6.3.2 ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
6.3.3 ความประณีตสวยงาม
6.3.4 ความถูกต้องของข้อความ
6.3.5 ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
6.3.6 การทำงานร่วมกันเป็นทีม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 4 | จัดทำรายงาน | 8 | 20% |
2 | 6, 7 | สอบกลางภาค | 8 | 30% |
3 | 14 | สั่งใบงาน ให้นักศึกษาลองทำแบบฟอร์มประเมินความพึงพอใจในการใช้โปรแกรม | 15 | 10% |
4 | 9-12 | สอบปลายภาค | 17 | 30% |
5 | 13 | นำเสนอในชั้นเรียน | 13 | 10% |
ผศ.ดร. ฐิติรัตน์ ศิริบวรรัตนกุล. (2017). ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้และการออกแบบปฏิสัมพันธ์. โครงการส่งเสริมและพัฒนาเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ. (2016). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์. ศูนย์หนังสือจุฬา.
อนุมาศ แสงสว่าง. (2019). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์. Ookbee Co., Ltd.
วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ. (2016). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์. ศูนย์หนังสือจุฬา.
อนุมาศ แสงสว่าง. (2019). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์. Ookbee Co., Ltd.
(ไม่มี)
เว็บไซต์เกี่ยวกับการสร้างและออกแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์
1. การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. การสังเกตการณ์สอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษาในการทางาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน