ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน

English for Airline Business

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับศัพท์ สำนวน และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจการบิน จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพ ในงานด้านธุรกิจการบิน โดยเน้นการเรียนการสอนด้วยภาคทฤษฎีและปฏิบัติ อีกทั้งเพื่อสร้างเสริมสติปัญญาในเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณ์ได้อย่างเป็นระบบโดยการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเรียนรู้ศัพท์ สํานวน และการฝึกทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจการบิน จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจการบิน
Study and practiceEnglish vocabulary, expressions, and language skills used in airline business and activities
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
นักศึกษาเข้าใจและสามารถแสดงออกซ่งึพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ ความมีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี และสามารถจัดการปัญหาโดยมี พื้นฐานทางคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชีพ โดยนักศึกษาจะมีคุณสมบัติดังนี้
ข้อ 1.1  มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีจิตสํานึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
ข้อ 1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
ผู้สอนสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรมในรายวิชาดังนี้
1 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนัก ในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
การประเมินสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ ได้แก่
1 การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3 การสังเกตพฤติกรรมในการทํางานเป็นกลุ่ม
นักศึกษามีความรู้ในแต่ละรายวิชาอย่างกว้างขวาง มีทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เข้าใจ ติดตาม และศึกษาการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน สามารถศึกษา ค้นคว้า และมีแนวทาง ในการแก้ปัญหาและการต่อยอดความรู้ได้ โดยมีผลการเรียนรู้ ดังนี้
ข้อ 2.1 มีความรู้และเข้าใจหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาที่ ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
ข้อ 2.3  มีความรู้และเข้าใจในสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดําเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่หลากหลาย
1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้
1 การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนําความรู้ไป ประยุกต์ใช้
ข้อ 3.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถ บูรณาการความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม
จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จําลอง
การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จําลอง
ข้อ 4.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง
ข้อ 4.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของ วัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชา
2 จัดให้นักศึกษาได้ทํากิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นํา และผู้ตาม
1 การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2 การสังเกตพฤติกรรมการทํากิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ข้อ 6.1 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 6.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็น แนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจน พัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
ข้อ 6.4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิง บูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
3 สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน ฝึกงานทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย และฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
1 งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา
2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารใน สถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา .1 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีจิตสํานึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 1 มีความรู้และเข้าใจหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาที่ ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรูู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 3 มีความรู้และเข้าใจในสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดําเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่หลากหลาย 3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถ บูรณาการความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม 4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง 5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็น แนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจน พัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิง บูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
1 BOAEC135 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน 1-17 10%
2 2.1 2.3 4.5 การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค 1-17 50 %
3 6.2 6.4 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษา 1-17 20 %
4 2.1 2.3 การฝึกปฏิบัติกิจกรรมเดี่ยว กลุ่ม ดูงานนอกสถานที่ 10-17 20%
Lertporn Parasakul. 2010.  English in Airline Business.Bangkok. Chulalongkorn University Press.
 
Emery, Henry and Roberts, Andy. 2008. Aviation.  Macmillan Publishers Limited. Sakchuen, Nattakarn.  2007. English for ground and in-flight attendants. Bangkok: Kasetsart University Press.
http://nhd.heinle.com/crosswords/airport_print.html http://englishteacheroxford.co.uk/avlisten.aspx http://www.flightattendantcareer.com/faq.htm http://www.saberingles.com.ar/lists/airport.html http://www.newscientist.com/topic/aviation
1 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
2 ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
1 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน
2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3 สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
1 ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ตามที่ได้ทดสอบไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก
2 มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และความน่าสนใจ
3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน ตามที่ได้สำรวจไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก
4 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษา และของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี