วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ

Science for Health

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1  เข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.2  เข้าใจการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม
1.3  เข้าใจอาหารเพื่อสุขภาพ
1.4  เข้าใจโรคที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน
1.5  เข้าใจแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
1.6  เข้าใจความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ รายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดูแล สุขภาพ ตนเอง ครอบครัว และสังคมต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม อาหารเพื่อสุขภาพ โรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม
To study about Science and technology development, Use of chemicals in daily life  and the effects of chemicals on the environment, food for health, epidemic and prevention of disease, holistic health and scientific advances to humans, environment, society, politics and culture
3.1 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 9.00-16.30 น. อาคารศึกษาทั่วไป ชั้น 4 ห้องพัก 404
โทร. 0619783900      
3.2 E-mail: nutwarin.p@hotmail.com
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
(ให้กำหนดความรับผิดชอบหลัก/รองหน้าแต่ละข้อเหมือนที่แสดงในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้)
1.1มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole – Class Discussion)
- การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การสอนแบบบรรยาย  
- การสังเกต
- การนำเสนองาน
- การประเมินตนเอง
- การประเมินโดยเพื่อน
2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1มีความรู้และความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
-กระบวนการสืบค้น(Inquiry Process)
-การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
-การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
-การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
-การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
-การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
- การสอนแบบบรรยาย  
- โครงการกลุ่ม
- การสังเกต
- การนำเสนองาน
- ข้อสอบอัตนัย
- ข้อสอบปรนัย
- การประเมินตนเอง
- การประเมินโดยเพื่อน
3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้อง พัฒนา(CognitiveSkills)
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้ มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-กระบวนการสืบค้น(Inquiry Process)
-การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
-การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
-การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
-การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
-การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
-เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
- การสอนแบบบรรยาย  
- โครงการกลุ่ม
- การนำเสนองาน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
-การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
- การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
- การสอนโดยใช้เทคนิคบทบาทสมมติ  
- การสังเกต
- การนำเสนองาน
5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (NumericalAnalysis, Communication and Information Technology Skills)
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-กระบวนการสืบค้น(Inquiry Process)
-การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
-การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
- การเขียนบันทึก
- โครงการกลุ่ม
- การนำเสนองาน
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 3 1 2 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC105 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10%
2 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.2 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 4,7,12,16 10%
4 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.2 การสอบกลางภาค 9 25%
5 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.2 การสอบปลายภาค 17 25%
7 รวม 100 %
เอกสารประกอบการสอนวิชา GEBSC105 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ (Science for Health)
ทิพวรรณ เรืองขจร. สุขภาพส่วนบุคคลและชุมชน. หจก. ภาพพิมพ์ กรุงเทพฯ 2550.
อรัญญา มโนสร้อย. เครื่องสำอาง เล่มที่ 1. โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์ กรุงเทพฯ. 2549.
ไมตรี สุทธจิตต์. สารพิษรอบตัว. ดวงกลมพับลิชชิ่ง กรุงเทพฯ. 2551
Wilson, Kathleen J.W. & Waugh, Anne. Anatomy and Physiology in Health and Illness.8th ed. Churchill Livingstone.Hongkong. 1996
หมอชาวบ้าน. สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน บจก. กรุงเทพฯ
    ฉลาดซื้อ. บริษัท พิมพ์ดี จำกัด. กรุงเทพฯ
    ชีวจิต. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน). กรุงเทพฯ
     http://www.anamai.moph.go.th
     http://www.cheewajit.com
     http://www.doctor.or.th
1.1 ผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนของนักศึกษาจากเว็ปไซด์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา
กระบวนการปรับปรุงการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ ได้กำหนดให้มีการนำข้อเสนอแนะของนักศึกษา รวมทั้งข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้สอนที่ได้ระบุไว้ใน มคอ. 5 ในแต่ละเทอม พร้อมทั้งผลที่ได้จากการทำวิจัยในชั้นเรียน และการประชุมวิพากษ์ของ คณาจารย์ทุกท่านที่ได้ร่วมสอนในเทอมนั้นๆ มาใช้เพื่อปรับปรุงการสอนให้ดียิ่งขึ้น
นำผลการเรียนของนักศึกษาที่ได้ มาตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้จาก การส่งรายงาน คะแนนสอบย่อย ในแต่ละครั้ง รวมทั้งคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษาทั้งหมดที่ลงเรียน
นำผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนของนักศึกษาจากเวปไซด์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งผลการเรียน ของนักศึกษาทุกคนที่ได้ลงทะเบียนเรียนในเทอมนั้นๆ และข้อเสอนแนะของคณาจารย์ผู้สอนทุกท่าน ใน มคอ. 5 มาทำการปรับปรุงเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ในเทอมต่อๆ ไป