วงจรดิจิทัล

Digital Circuits

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับรหัสและระบบตัวเลขที่ใช้ในวงจรดิจิตอล  การออกแบบวงจรคอมไบเนชั่น  วงจรซีเควนเชียล  วิธีการออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้พีแอนดี  ตรวจสอบการทำงานของวงจรดิจิตอล  การใช้คู่มือและประยุกต์ใช้ไอซีดิจิตอลในการออกแบบและเห็นความสำคัญของการออกแบบวงจรดิจิตอล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  เกี่ยวกับรหัสและระบบตัวเลขที่ใช้ในวงจรดิจิตอล  การออกแบบวงจรคอมไบเนชั่น  วงจรซีเควนเชียล  วิธีการออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้พีแอนดี การใช้คู่มือและประยุกต์ใช้ไอซีดิจิตอลในการออกแบบ  ทั้งนี้  ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง  ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับรหัสและระบบตัวเลขที่ใช้ในวงจรดิจิตอล  หลักการออกแบบวงจรคอมไบเนชั่น  หลักและการออกแบบวงจร  ซีเควนเชียล  การออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้พีแอลดี  วิธีการตรวจสอบการทำงานของวงจรดิจิตอล  ใช้คู่มือและประยุกต์ใช้ไอซีดิจิตอลในการออกแบบ
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล  หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1     ตระหนักในคุณค่าของความจริง ความดีงาม และความมีเหตุผล 
1.1.2     มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
1.1.3     มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 
1.1.4     เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1.1.5     เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 
1.1.6     มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
1.1.7     รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
1.2.1     อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน 
1.2.2     กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย 
1.2.3     เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 
1.2.4     มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่มฝึกความรับผิดชอบ
1.3.1     พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
1.3.2     มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
1.3.3     พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม และการอภิปราย 
1.3.4     ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 
1.3.5     ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญของ รหัสและระบบตัวเลขที่ใช้ในวงจรดิจิตอล หลักการออกแบบวงจรคอมไบเนชั่น หลักและการออกแบบวงจร ซีเควนเชียล การออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้พีแอลดี วิธีการตรวจสอบการทำงานของวงจรดิจิตอล ใช้คู่มือและประยุกต์ใช้ไอซีดิจิตอลในการออกแบบ
2.2.1     บรรยายและแบบฝึกหัด 
2.2.2     การทำงานเดี่ยว และงานกลุ่ม และศึกษาค้นคว้าทฤษฎีที่เรียน 
2.2.3     เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning 
2.2.4     การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based learning)
2.3.1     ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
2.3.2     นำเสนอสรุปผลจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 
2.3.3     ประเมินผลจากคะแนนที่นักศึกษาได้รับ 
2.3.4     ประเมินผลจากการปฏิบัติการของนักศึกษา 
2.3.5     ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานอื่นๆ
พัฒนาความสามารถในกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และการมีทักษะทางการวิเคราะห์สังเคราะห์
3.2.1     มอบหมายโจทย์คำถามเพื่อให้นักศึกษาหาคำตอบ ในคาบตามเรื่องที่เรียน 
3.2.2     การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem based learning : pbl) 
3.2.3     ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็น กระตุ้นโดยวิธีการซักถาม            
3.2.4     การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1     ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ 
3.3.2     วัดผลจากการประเมินผลการปฏิบัติการของนักศึกษา 
3.3.3     สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1     พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน 
4.1.2      พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 
4.1.3     มีมนุษยพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 
4.1.4     พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนทันเวลา 
4.1.5     มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 
4.1.6     การเข้าเรียนตรงเวลา
4.2.1     จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
4.2.2     มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล 
4.2.3     การนำเสนอรายงาน 
4.2.4     แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่างๆ 
4.2.5     สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ 
4.2.6     เช็คชื่อทุกครั้งที่เข้าชั้นเรียน
4.3.1     นักศึกษาประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียนในเรื่องความรับผิดชอบ กระตือรือร้นการเข้าใจเนื้อหาที่เรียน และความพึงพอใจ 
4.3.2     ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
4.3.3     ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
4.3.4     ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1     ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 
5.1.2     พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 
5.1.3     พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 
5.1.4     พัฒนาทักษะในการหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง โดยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
5.1.5     ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร 
5.1.6     ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1     มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วนตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง 
5.2.2     นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.2.3     ฝึกปฏิบัติการ
5.3.1     ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
5.3.2     ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
5.3.3     ประเมินจากแบบฝึกหัดและผลงานที่นักศึกษาทำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-4 สอบกลางภาค 8 20
2 บทที่ 5-11 สอบปลายภาค 16 20
3 บทที่ 1-4 สอบปฏิบัติ 7 10
4 บทที่ 5-11 สอบปฏิบัติ 14 10
5 บทที่ 1- 11 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30
6 บทที่ 1-11 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก / อ.นภัทร วัจนเทพินทร์, สำนักพิมพ์ สกายบุ๊คส์, 2545.
หนังสือทางด้านดิจิตอลและลอจิกทั่วไป
Digital Systems Design / Ramawamy Palaniappan, www.bookboon.com, 2011.  E-learning ของสถาบันการศึกษาต่างๆ  Website ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การตอบคำถาม และการให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา โดยนักศึกษาประเมินผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ดังนี้คือ  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา และการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้คือ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน และการวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ