คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี

Mathematics for Accountant

 1.1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็นต้องใช้ในระดับปริญญาตรี
 1.2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในทางธุรกิจ
 
              2.1   เพื่อให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของคณิตศาสตร์และพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์
              2.2   เพื่อปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้เป็นประโยชน์ในการนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาทางการบัญชี
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีคณิตศาสตร์เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และแมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ประเภทต่างๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกรต มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด รวมทั้งตรรกศาสตร์ การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1)  มีความรู้ความเข้าใจในวิชาที่เรียน มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์สุจริต
            2)  มีวินัย ปฏิบัติตามระเบียบของสังคมและมหาวิทยาลัย เคารพข้อกติกาการเรียนการสอน
            3)  สามารถทำงานที่มอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
1)  ใช้การสอนแบบบรรยาย โดยมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
            2)  สอนโดยเป็นต้นแบบที่ดี เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่นักศึกษา
            3)  มีการกำหนดกติกาในการเรียน การปฏิบัติตนขณะที่เรียน
1)  ประเมินผลจากเข้าห้องเรียนตรงเวลา  
            2)   สังเกตุจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
            1) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
            2) ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
1) จัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ Microsoft Team และ Rmutl Education ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษา หาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง และ การทำแบบฝึกหัด
 2) มีการถามตอบในชั้นเรียน
1) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การสอบย่อย
              2) ประเมินจากการสอบข้อเขียนคือ  สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
1) พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผล
            2) สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางธุรกิจได้อย่างเหมาะสม
1) ส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น โดยใช้โจทย์
                 แบบฝึกหัด  โจทย์ปัญหา
              2) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามและแสดงความคิดเห็นต่อปัญหากรณีศึกษา  และ แบบฝึกหัด
1) ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา
                   2) ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
                 3)  ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญา
 
1)  พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2)  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1)  มอบหมายงานกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้
  
              1)  ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
         1)  พัฒนาการคิดคำนวณเชิงตัวเลข
         2)  สามารถคัดเลือกแหล่งข้อมูลเพื่อการตัดสินใจได้
1)  การมอบหมายให้ทำโจทย์แก้ปัญหาทางธุรกิจ
1)  ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุรธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC112 คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1/2.2/2.3/3.1/3.2/5.1/5.3 การสอบย่อย ครั้งที่ 1 4 5%
2 2.1/2.2/2.3/3.1/3.2/5.1/5.3 การสอบย่อย ครั้งที่ 2 8 5%
3 2.1/2.2/2.3/3.1/3.2/5.1/5.3 การสอบกลางภาค 9 35%
4 2.1/2.2/2.3/3.1/3.2/5.1/5.3 การสอบย่อย ครั้งที่ 3 13 5%
5 2.1/2.2/2.3/3.1/3.2/5.1/5.3 การสอบย่อย ครั้งที่ 4 17 5%
6 2.1/2.2/2.3/3.1/3.2/5.1/5.3 การสอบปลายภาค 18 35%
เอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี  เรียบเรียงโดย ผศ.เสรฐสุดา ปรีชานนท์  และ อ.ต้นวงศ์ ปรีชานนท์
      1.  ผู้ช่วยศาตราจารย์นฤมล โสภารัตนกุล และ อาจารย์สุชาดา คุ้มสลุด. (2552). คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับธุรกิจ.
     มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
2.  อาภรณ์พันธ์ ว่องไว   , คณิตศาสตร์ธุรกิจ (Business Mathematics)  ซีเอ็ดยูเคชั่น  กรุงเทพ
3. สาขาวิชาศิลปศาสตร์  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .(2554).  เอกสารการสอนชุดวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ
    สังคมศาสตร์  พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
4. อภิชาต พงศ์สุพัฒน์ , .(2554).  การเงินธุรกิจ พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : บริษัท อินโฟไมนิ่งจำกัด.
5. พิพัฒน์ เพริศพริ้ง .(2548) . แคลคูลัสและการประยุกต์  กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. 
6. Piascik, Chester, Applied Calculus for Business and the Social and atural Sciences. U.S.A. West  Publishing, 1992.
1) ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
1) พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ (สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค)
2) พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้ แบบฝึกหัด
3) พิจารณาจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
 
1) นำผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษาและผลประเมินการสอน มาพิจารณาการปรับปรุงการสอน
2) ผู้สอนควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เข้ารับการอบรมสัมมา ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาการสอน
            1) การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
1) นำเอาผลการประเมินข้อ1 และข้อ2 มาวิเคราะห์และหาแนวพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้