การออกแบบหัตถกรรมสิ่งทอ

Textile Craft Design

1.1 รู้ออกแบบงานหัตถกรรมสิ่งทอ
1.2 เข้าใจการพัฒนารูปแบบและกระบวนการผลิตงานหัตถกรรมสิ่งทอ
1.3 มีทักษะการใช้เทคนิคการผลิตและประโยชน์ใช้สอยของงานหัตถกรรมสิ่งทอ
1.4 การประยุกต์เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับงานหัตถกรรมสิ่งทอ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนการประยุกต์เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับงานหัตถกรรมสิ่งทอ
ฝึกปฏิบัติออกแบบงานหัตถกรรมสิ่งทอ การพัฒนารูปแบบและกระบวนการผลิตงานหัตถกรรมสิ่งทอ เทคนิคการผลิตและประโยชน์ใช้สอยของงานหัตถกรรมสิ่งทอ การประยุกต์เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับงานหัตถกรรมสิ่งทอ
Practice designing the textile crafts, developing style and manufacturing process, production techniques and function of textile crafts, the apply technology suitable technology, which is applied for textile crafts.
นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามความต้องการ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา และจิตสำนึกสาธารณะ บรรยายเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพด้วยกิจกรรมจิตสาธารณะในห้องเรียน
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบต่อสาธารณะ 1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้ 1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม
บรรยาย สาธิต มอบหมายงาน
สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
บรรยาย สาธิต มอบหมายงาน
สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย สาธิต มอบหมายงาน
สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
ธีการประเมินผล สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 บรรยายความสัมพันธ์ของลายทอลายถักที่มีผลต่อเทคโนโลยีสิ่งทอ 6.2.2 มอบหมายงานกลุ่มในการหาความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีสิ่งทอ
6.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 3 2 1 2 3
1 BAATJ133 การออกแบบหัตถกรรมสิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.2 3.1 สอบกลางภาค (สอบปฏิบัติ) สอบปลายภาค (สอบปฏิบัติ) 9 17 40%
2 1.1 6.1 6.3 ปฏิบัติงานตามใบงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1 1.2 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกาย การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 ดิสนีย์ สิงหวรเศณษฐ์.(2552). ออกแบบสิ่งทอ.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์ 1.2 ยุพินศรี สายทอง(2528). งานทอ กรุงเทพฯ: O.S.Printing House Co.,Ltd 1.3 ยุพินศรี สายทอง(2549). หัตถกรรมจากเชือก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์ 1.4 วิบูลย์ ลี้สุวรรณ(2539). ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: คอมแพคท์ปริ้น
ไม่มี
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรมสิ่งทอ
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา 1.2 การแสดงความคิดเห็น
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้ 2.1 ผลงานของนักศึกษา 2.2 การมีส่วนร่วมของนกศึกษา 2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา 2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 3.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและหลังการออกผลการเรียนรายวิชาการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบงานที่ได้รับมอบหมายจากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน 4.2 ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจผลสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติที่หลากหลาย