การออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์

Printed Fabric Design and Production

 

มีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบลวดลายผ้าพิมพ์ มีทักษะเกี่ยวกับการสร้างและจัดวางลวดลาย มีทักษะในกระบวนการพิมพ์สิ่งทอพื้นฐาน มีทักษะในการสร้าง ต้นแบบงานพิมพ์สิ่งทอ มีทักษะในเทคนิคการพิมพ์สิ่งทอแบบต่างๆ มีทักษะในการรักษาสิ่งแวดล้อมจากการผลิตผืนผ้า
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชานี้เพื่อแก้ไขปัญหาจากการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบลวดลายผ้าพิมพ์ การสร้างและจัดวางลวดลาย ผ้าพิมพ์ตามความต้องการใช้งาน กระบวนการพิมพ์สิ่งทอพื้นฐาน การสร้าง ต้นแบบงานพิมพ์สิ่งทอ เทคนิคการพิมพ์สิ่งทอแบบต่างๆ การจัดการ สิ่งแวดล้อมในงานพิมพ์สิ่งทอ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบลวดลายผ้าพิมพ์ การสร้างและจัดวางลวดลาย ผ้าพิมพ์ตามความต้องการใช้งาน กระบวนการพิมพ์สิ่งทอพื้นฐาน การสร้าง ต้นแบบงานพิมพ์สิ่งทอ เทคนิคการพิมพ์สิ่งทอแบบต่างๆ การจัดการ สิ่งแวดล้อมในงานพิมพ์สิ่งทอ
Practice designing and creating of printed fabric follow by process,
designing the fabric patterns and printing based on demand, the
basic of textile printing prototyplng printed textiles, technical
textile printing types and environmental management in textile
printing.
1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนงคิดของผู้อื่น
เน้นให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมจากการออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์ ยกตัวอย่างถึงมลพิษที่เกิดจากการออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์และวิธีการจัดการมลพิษในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน ให้นักศึกษาหากรณีศึกษาเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากการออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์และวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
สอบถามเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากการออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์และวิธีการจัดการมลพิษในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน ประเมินผลการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากการออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์
3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนาธรรม
4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียบปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์
2.2.1 เน้นให้นักศึกษามีศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการออกแบบและพัฒนา
2.1.2 มอบหมายงานในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
2.3.1 จากผลงานที่มอบหมายในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
1.สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพ
3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
3.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1มอบหมายงานเป็นงานรายเดี่ยวและงานกลุ่มในฝึกปฏิบัติในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
4.3.1จากการสังเกต
4.3.2 จากผลงานที่มอบหมาย
1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
5.2.1 แนะนำการออกแบบลายผ้าให้สามารถสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้ในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
5.3.1 จากผลงานที่มอบหมายและการนำเสนอผลงาน
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 สาธิตวิธีการออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์ในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
6.2.2 แนะนำวิธีการออกแบบและพัฒนาลายผ้าในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
6.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมและจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ127 การออกแบบและผลิตผ้าพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านทักษะพิสัย 1. จากงานที่มอบหมาย 2. สอบกลางภาค 3. สอบปลายภาค 1. งานที่มอบหมาย สัปดาห์ที่ 1-8 และสัปดาห์ที่ 11-16 2. สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 3. สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 1. งานที่มอบหมาย ร้อยละ 34 2. สอบกลางภาค ร้อยละ 10 3. สอบปลายภาค ร้อยละ 10 รวมเป็นร้อยละ 54
2 คุณธรรม จริยธรรม ความสนใจการเรียนทั้งระบบออนไลน์และในชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ, ความตั้งใจทำงาน สัปดาห์ที่ 1-8 และ สัปดาห์ที่ 10-16 ร้อยละ 5
3 ความรู้ พิจารณาจากผลงานการออกแบบและพัฒนาลวดลายผ้าพิมพ์ที่มีการนำศาสตร์ทางศิลปกรรมมาใช้ สัปดาห์ที่ 9 และสัปดาห์ที่ 17 ร้อยละ 10
4 ทักษะทางปัญญา จากผลงานของนักศึกษา สัปดาห์ที่ 1-8 และ 10-16 ร้อยละ 16
5 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สังเกตุจากการปฎิบัติงานเป็นรายเดี่ยวและงานกลุ่ม สัปดาห์ที่ 1-8 และสัปดาห์ที่ 10-16 ร้อยละ 5
6 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จากผลงานการออกแบบและการนำเสนองาน สัปดาห์ที่ 4-8 ร้อยละ 10
1.1 ชุลีพร วัชรานันท์. ออกแบบสิ่งทอ.กรุงเทพมหานคร : บริษัทวิสคอมเซ็นเตอร์
1.2 ดุษฎี สุททรารชุน. การออกแบบลายผ้าพิมพ์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์
1.3 ลิลี่ โกศัยยานนท์ และคณะ.คู่มือวิชาการสิ่งทอ. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ.
1.4 สนั่น บุญลาและพิชัย พงษ์วิรัตน์. เทคโนโลยีการผลิตสิ่งทอจากใยพืช เล่มที่ 5 เทคโนโลยีการผลิตผ้าทอ-ผ้าถัก.กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ.
1.5 อัจฉราพรไศละสูต. 2539.ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ.
1.6อภิชาติ สนธิสมบัติ. 2545. กระบวนการทางเคมีสิ่งทอ. ปทุมธานี : คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
1.7 อุไรวรรณ ภารดี (ปิติมณียากุล). 2555. ร้อยเรียงผ้าถัก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ด้านการออกแบบลวดลายผ้าและการพิมพ์ผ้า
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบลวดลายผ้าและการพิมพ์ผ้า
http://www.ttistextiledigest.com
http://www.thaitextile.org
การปะเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้

การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 ผลงานของนักศึกษา
2.2 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทดสอบผลการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา