การเตรียมศิลปนิพนธ์สิ่งทอและเครื่องประดับ

Pre-Textile and Jewelry Thesis

1.1 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการกำหนดหัวข้อศิลปนิพนธ์ด้านสิ่งทอและเครื่องประดับ
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีการดำเนินการศิลปะนิพนธ์ด้านสิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปประเด็น ศิลปะนิพนธด้านสิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.4 เพื่อให้บอกและอธิบายวิธีการดำเนินการศิลปนิพนธ์ด้านสิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.5 เพื่อให้เขียนเอกสารโครงร่างศิลปะนิพนธ์ทางด้านสิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.6 เพื่อให้เห็นความสำคัญของการเตรียมศิลปนิพนธ์ด้านสิ่งทอและเครื่องประดับ
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นพื้นฐานในการสอนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams และเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
ศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดหัวข้อที่จะศึกษา การกำหนดวัตถุประสงค์  ขอบเขตของศิลปะนิพนธ์ และวิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า  เพื่อเสนอขอความเห็นชอบต่อที่ปรึกษาและคณะกรรมการศิลปะนิพนธ์
การรวบรวมข้อมูล  การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งทอและเครื่องประดับ  การเขียนเอกสารศิลปะนิพนธ์ตามแบบแผนที่กำหนด
           Study of preparing for a thesis project with an advisor, deciding a topic for a research study, determining the research objectives, the scope of the study and presenting the research procedure to an advisory committee, studying of data collection and analysis, problem conclusion and solution of textile and jewelry and composing a thesis according to the given format.
3.1 อาจารย์ผู้สอน  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
    3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams อย่างน้อย 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
           2) มีทัศนคติเปิดกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายและสอดแทรกระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams เรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านศิลปนิพนธ์ด้านสิ่งทอ และเครื่องประดับ
           1.2.2  ขานชื่อนักศึกษาระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams เมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาและการแต่งกาย
1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
          1.3.2  การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในการเข้าชั้นเรียน
2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
           3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1 ยกตัวอย่าง ประเด็นปัญหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.2.2 อธิบายวิธีการลงพื้นที่เพื่อกำหนดประเด็นปัญหาด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.3.1   สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค  ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากโจทย์ที่เป็นประเด็นปัญหาด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2.3.2   สอบปฏิบัติย่อยระหว่างภาค ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นปัญหาด้านด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
1) บรรยายหลักการศึกษาข้อมูลด้วยระบบออนไลน์โปรแกรม Ms Teams จากแหล่งต่างๆ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลเบื้องต้นการทำศิลปนิพนธ์
  2) บรรยายหลักการนำความรู้จากการศึกษาข้อมูลมาประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นและการประกอบอาชีพด้วยระบบออนไลน์โปรแกรม Ms Teams
3.3.1   สอบทฤษฎีหลักการศึกษาข้อมูลของศิลปนิพนธ์ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
3.3.2   การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปรายประเด็นทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
1) มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
3)  สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
อธิบาย / บรรยาย แล้วมอบหมายงานรายบุคคล และรายกลุ่ม ในประเด็นปัญหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
4.3.1  ประเมินจากเนื้อหาสาระที่ร่วมกันอภิปราย  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
4.3.2  ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานร่วมกัน การแสดงความคิดเห็น ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams 
1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายให้นักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ปฏิบัติงานสืบค้นข้อมูลโดยจากอินเตอร์เน็ต และหนังสือด้านออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ รวมทั้งสาธิตการนำประเด็นปัญหาเบื้องต้นในงานศิลปนิพนธ์
1) ประเมินผลระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในเนื้อหาสาระด้านออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
            2) ประเมินผลระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการศึกษาค้นคว้ารายกลุ่มและหรือรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ118 การเตรียมศิลปนิพนธ์สิ่งทอและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 -2.3 1.1 สอบปฏิบัติกลางภาค ออนไลน์ Ms Teams 1.2 สอบปฏิบัติปลายภาค ออนไลน์ Ms Teams 9 และ 17 สัปดาห์ละ 15 เปอร์เซ็นต์
2 3.1-5.1 2.1 ผลการศึกษาประเด็นปัญหางานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับเพื่อนำมาเขียนโครงร่างวิจัย ผ่านระบบออนไลน์ Ms Teams 2.2 การนำเสนอ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้น ผ่านระบบออนไลน์ Ms Teams 2.3 ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ออนไลน์ Ms Teams ตลอดภาคการศึกษา 60 เปอร์เซ็นต์
3 1.1-1.3 3.1 สังเกตการณ์เข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจออนไลน์ Ms Teams 3.2 สังเกตความรับผิดชอบออนไลน์ Ms Teams 3.3 สังเกตการแต่งกาย ออนไลน์ Ms Teams ตลอดภาคการศึกษา 10 เปอร์เซ็นต์
นิรัช สุดสังข์ (2559). ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ.กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง.
วรรณดี สุทธินรากร (2561). การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สยาม
            ปริทัศน์.
องอาจ  นัยพัฒน์ (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สามลดา.
อมรรัตน์  อนันต์วราพงษ์ (2560). หลักการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
            จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
2.1 ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 2.2 ข้อมูลจากสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
2.3 ข้อมูลด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ จากแหล่งต่างๆ และจากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศ.ศ.ป)
 
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
3.1 ฐานข้อมูลวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ทั้งในและต่างประเทศ
3.2 การลงพื้นที่จริงเพื่อกำหนดประเด็นปัญหา
3.3 ข้อมูลจากการพบปะ พูดคุย กับบุคคลต่างๆ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้คือ
      1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียนออนไลน์ Ms Teams
      1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาออนไลน์ Ms Teams
2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนออนไลน์ Ms Teams
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ออนไลน์ Ms Teams
2.4   การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานเขียนระบบออนไลน์ Ms Teams
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนออนไลน์ Ms Teamsให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนออนไลน์ Ms Teams ที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรออนไลน์ Ms Teamsเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา