สัมมนาปัญหาทางวิศวกรรม

Seminar in Engineering Problem

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมองปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรม โดยการระดมสมอง เพื่อแก้ปัญหางาน การค้นคว้า และการจัดสัมมนา เพื่อหาข้อยุติในการแก้ปัญหางานทางวิศวกรรม การประเมินผลงาน  การติดตามงาน และ การนำเสนอผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเรื่องการระดมสมอง เพื่อแก้ปัญหางาน การค้นคว้า และการจัดสัมมนา การหาข้อยุติในการแก้ปัญหางานทางวิศวกรรม การประเมินและติดตามงาน
ศึกษาเกี่ยวกับการมองปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรม โดยการระดมสมอง เพื่อแก้ปัญหางาน การค้นคว้า และการจัดสัมมนา เพื่อหาข้อยุติในการแก้ปัญหางานทางวิศวกรรม การประเมินผลงาน  การติดตามงาน และ การนำเสนอผลงาน
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 5ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  มีวินัย ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  เคารพกฎระเบียบวินัยและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม              1.1.2   สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.3   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง 2. การสอนแทรกในรายวิชา 3.การเป็นต้นแบบที่ดีของอาจารย์ 4.การจัดกิจกรรม 5.การสอนจากกรณีศึกษา
1. นักศึกษาประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ก่อนและหลังเรียน 2. ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม 3. ผู้ใช้บัณฑิตประเมินคุณธรรมจริยธรรมของบัณฑิต 4. ประเมินจากการมีวินัยในการเข้าร่วมกิจกรรมของหลักสูตร
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1  บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชาอภิปรายระหว่างอาจารย์และนักศึกษา 2.2.2  ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการระดมสมอง การวิเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อการแก้ปัญหางานเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น 2.2.3  มอบหมายงานเป็นกลุ่มจัดสัมมนา 2.2.4 สรุปเนื้อหาบทเรียน
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงาน 2. ประเมินจากการทดสอบย่อย 3. ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค  
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.3 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นมากขึ้น 2. การสอนจากกรณีศึกษา 3. การอภิปรายกลุ่ม 4. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง
1. ประเมินจาการออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาใช้ทักษะทางปัญญา 2. ประเมินจากการแก้ปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นเหมาะสม 4.1.2  สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.3  รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.1.4  มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1. การสอนแบบร่วมมือ 2. การมอบหมายงานกลุ่ม
1. การประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในทำงานกลุ่มและการร่วมกิจกรรมต่างๆ 2. ให้นักศึกษาประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1   นำเสนอผลงานในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.2  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน  โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.3   อธิบายวิธีการใช้เครื่องคำนวณในส่วนของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1   ผลจากการประเมินการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.3.2  ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการอภิปรายกลุ่มโดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ไม่มี
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.2.1. 4.2.1 การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1) การนำเสนอหัวข้อการจัดสัมมนาครั้งที่ 1 2) การนำเสนอหัวข้อการจัดสัมมนาครั้งที่ 2 4 14 5% 5%
3 6.2.1 การจัดสัมมนาครั้งที่ 1 ดำเนินการไปศึกษาดูงาน การจัดสัมมนาคร้งที่ 2 8 12 16 20% 20% 20%
4 3.1.1 สอบปลายภาค 18 20%
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- ประเมินผลโดยคณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการ - อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยดูพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา
- ประชุมผู้สอนเทอมละ 1 ครั้ง เพื่อสรุปประเด็นปัญหาเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน - การวิจัยในชั้นเรียน
- อาจารย์มีการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมในการให้คะแนน - มีการทวนสอบการให้คะแนนในข้อสอบ รายงาน โดยอาจารย์ท่านอื่นที่สอนในรายวิชาเดียวกัน - จัดทำคลังข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ - ทำการวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อหาค่าความยากง่าย