พื้นฐานการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

Foundation of Print Media

     ศึกษาความเป็นมาของสื่อสิ่งพิมพ์ กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เทคนิคและวิธีการด้านกระบวนการผลิต
และเทคโนโลยีการบวนการผลิตแบบต่างๆ จนถึงปัจจุบัน
1. เพื่อให้นักศึกษารู้ความเป็นมาของสื่อสิ่งพิมพ์และกระบวนการผลิตจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
2. เพื่อให้นักศึกษารู้ความแตกต่างระหว่างเทคนิค และเทคโนโลยีกระบวนการผลิตแบบต่างๆ
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกประเภทการพิมพ์ที่เหมาะสมกับสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเภท
ศึกษาความเป็นมาของสื่อสิ่งพิมพ์ กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เทคนิคและวิธีการด้านกระบวนการผลิต และเทคโนโลยีการบวนการผลิตแบบต่างๆ จนถึงปัจจุบัน
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
      มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคมมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงาน
เป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งแล ลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ พัฒนาทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างหรือกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. ความเป็นมาของสื่อสิ่งพิมพ์และกระบวนการผลิตจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
2. ความแตกต่างระหว่างเทคนิค และเทคโนโลยีกระบวนการผลิตแบบต่างๆ
3. ประเภทการพิมพ์ที่เหมาะสมกับสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเภท
1 บรรยายและการฉายสื่อภาพเคลื่อนไหว
2 มอบหมายงาน และให้มีการนำเสนอรายงาน
3 การศึกษาดูงานสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง
1 ประเมินจากรายงานกลุ่ม
2 ประเมินจากการนำเสนอประเด็นหัวข้อที่มอบหมายให้
3 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
1 สามารถคิด และวิเคราะห์ทุกเรื่องอย่างมีวิจารณญาณ
2 นำความรู้ที่ได้มาประมวลความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา
1 การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
2 อภิปรายกลุ่ม ตอบข้อซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
1 ประเมินผลจากการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในงานที่ได้รับมอบหมาย
2 มีความคิด กล้าตัดสินใจและกล้าแสดงออกอย่างมีขอบข่าย
3 สามารถปฏิบัติตนรับผิดชอบงานและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานด้วยความเต็มใจ
1 จัดกิจกรรมกลุ่ม ให้ค้นคว้าหาข้อมูล
2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ และยอบรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และทำงานของตนเต็มความสามารถ
1 การสอบกลางภาคและปลายภาคการศึกษา
2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมายและการนำเสนอ
3 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
4 สังเกตพฤติกรรมจากการการทำงานครบถ้วนตรงตามที่มอบหมาย ส่งงานตรงตามเวลา ที่กำหนด
1 ทักษะความรู้ด้านพื้นฐานความเป็นมาของสื่อสิ่งพิมพ์ กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และหลักการการพิมพ์แต่ละระบบ
2 มีความรู้ข้อดีและข้อจำกัดการพิมพ์ เทคนิคและวิธีการด้านกระบวนการผลิต
3 มีความรู้ด้านเทคโนโลยีการบวนการผลิตแบบต่างๆ จนถึงปัจจุบัน
1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
2 แสดงสื่อ หรือสื่อภาพเคลื่อนไหวประกอบความเข้าใจ
3 ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
4 นำเสนอผลงานตามรูปแบบที่เหมาะสม
1 ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอ
2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1 มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
3 มีการเข้าเรียนตรงต่อเวลา การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบมหาวิทยาลัย
1 สร้างเจตนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน
2 ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานที่ศึกษาอยู่และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
    1 พิจารณาจากผลงานปฏิบัติ
    2 ผลการสอบภาคทฤษฎี
    3 สังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออก
    4 ประเมินจากผลงานทำได้ตรงตามหัวข้อที่มอบหมาย ตรงเวลา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าเรียน การส่งงานที่มอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9, 18 60%
3 มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และมีความรับผิดชอบ กิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย การมีส่วนร่วม การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน 10%
4 ทักษะทางปัญญา วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ การจัดทำรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี การสืบค้นข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอรายงานด่ช้วยสื่อทางเทคโนโลยี ตลอดภาคเรียน 20%
            - Handbook printing media
            - เทคโนโลยีการพิมพ์ (ความก้าวหน้าและการนำไปใช้งาน)  รศ.ดร. อรัญ หาญสืบสาย
             - มาตรฐานการพิมพ์ออฟเชตแนวคิดและวิธีการOffset Printing Standard รศ.ดร. อรัญ หาญสืบสาย
            -เอกสารการสอนชุดวิชา การจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
            - วารสารการพิมพ์บรรจุภัณฑ์       
            - วารสารในวงการพิมพ์
            - http://www.thaiprint.org/thaiprint/index.php
            - http://www.ssru.ac.th/teacher/printingonline/mod/resource/view.php?id=443
            - http://bangkokprint.com/?p=848
            - http://printing99.blogspot.com/2010/11/blog-post_29.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
               2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
               2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
               2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
 
                3.1   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
                4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
                5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ