สัมมนาออกแบบอุตสาหกรรม

Seminar for Industrial Design

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนาและการจัดฝึกอบรม ทางด้านออกแบบ
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการสืบค้นหัวข้อสัมมนาที่น่าสนใจ ทักษะการมี บทบาทเป็นทั้งวิทยากร และทีมผู้จัดสัมมนา
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการเสนอประเด็นปัญหา ความก้าวหน้าวงการดา้ น การออกแบบอุตสาหกรรม
5. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินผลการสัมมนา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการเขียนโครงการและการจัดสัมมนา การประเมินผล พัฒนา ทักษะการพูด การบริหารจัดการงานสัมมนา เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการนาความรู้ไปเป็น พ้ืนฐานของรายวิชาอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การนาเสนอหัวข้อโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม วิชาการ นาเสนอผลงาน และวิชาที่ใช้ทักษะในการพูดนาเสนอผลงาน
ฝึกปฏิบัติ จัดสัมมนา ตั้งหัวข้อการสัมมนา เขียนโครงการสัมมนาด้านงานออกแบบอุตสาหกรรม และด้านความก้าวหน้าทางงานออกแบบ ครอบคลุมเนื้อหาที่นักศึกษาสนใจในระดับปริญญาตรี และจัดการ สัมมนาตามหัว ข้ อที่น าเสน อ
Practice in seminar according to their proposed subject. Students must write the seminar proposal in industrial design and design their own seminar taking care to cover a subject in their bachelor's degree.
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่าน Line, Facebook หรือ ทาง email ของผู้สอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ3ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ) ผ่านทาง Zoom หรือ Facebook live หรือ Line กลุ่ม
2.1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
2.1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 
2.1.1.3 มีจิตสานึก จิตสาธารณะ 
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้ หน้าที่ในการทางาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ประเมินจากผลการ ดาเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
2.2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่าง เป็นระบบ 
2.2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ เช่น Active learning Flipped Classroom โดย เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ ผ่านระบบการสอนออนไลน์ RMUTL Education ระบบ Moodle และ Microsoft teams โดยจัดทาสื่อ Digital ในรูปแบบใบความรู้ ไฟล์ pdf ppt. ออนไลน์ ในระบบ LMS เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตลอดเวลาตามความต้องการของ ผู้เรียน
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้าน ต่าง ๆ คือ
2.2.3.1 การทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน 2.2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.2.3.3 ประเมินจากงานที่นักศึกษาปฏิบัติที่ upload ส่งในระบบ LMS 2.2.3.4 ประเมินจากการนาเสนอในห้องเรียน Microsoft Teams
2.3.1.1 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 
2.3.1.2 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ วิชาชีพได้
ใช้การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การ นาเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากงานที่มอบหมาย ที่ upload ส่งในระบบ LMS และการนาเสนองานในห้องเรียน Microsoft Teams
2.4.1.1 มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2.4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
2.4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นท่ีแตกต่าง 
กิจกรรม active learning เน้นความสาคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทาหน้าที่ผู้นาและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการ วิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนาเสนองาน และผลงานกลุ่มในห้องเรียน เสมือนจริง และประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
2.5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
2.5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลหรือการนาเสนอผลงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้ เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนาเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนาเสนอ
2.6.1.1 มีทักษะในการทาตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนา 
2.6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกรูปแบบการจัดสัมมนา ทาตามแบบและใบงาน การ ใช้กรณีศึกษา เขียนโครงร่าง สร้างแบบประเมินผล และกระบวนการจัดสัมมนา เพื่อให้นักศึกษามี แนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ที่นักศึกษาเสนอ ในห้องเรียน Microsoft Teams
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 BAAID120 สัมมนาออกแบบอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1.1, 2.2.1.2 2.3.1.1, 2.3.1.2, 2.6.1.1, 2.6.1.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 30%
2 2.3.1.1, 2.3.1.2, 2.4.1.1, 2.4.1.2, 2.4.1.3, 2.5.1.1, 2.5.1.2, 2.6.1.1, 2.6.1.2 การศึกษาค้นคว้า การนาเสนอ การทางานกลุ่ม จัดสัมมนา การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 50%
3 2.1.1.1, 2.1.1.2, 2.1.1.3, 2.4.1.1, 2.4.1.2, 2.4.1.3, 2.5.1.1, 2.5.1.2 การเข้าชั้นเรียนในห้องเรียน Microsoft Teams การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 20%
ชาญ สวัสดิ์สาล.ี 2550. คู่มือนักฝึกอบรมมืออาชีพ. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ: สวัสดิการสานักงาน กพ. ณัฐพงศ์ เกศมาริษ. 2545. เทคนิคการนาเสนออย่างมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท. นนทวัฒน์ สุขผล. 2543. เทคนิคการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท. นิรันดร์ จุลทรัพย์. 2550. จิตวิทยา การประชุมอบรมสัมมนา. สงขลา: ศูนย์หนังสือม.ทักษิณฯ. สมชาติ กิจจรรยา. 2544. สูตรสาเร็จการจัดฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท. สายสอางค์ แกล้วเกษตรกรณ์. 2543. สูตรสาเร็จการเป็นวิทยากร. กรุงเทพฯ: สวัสดิการสานักงาน กพ. สิทธิเดช ลีมัคเดช. 2551. สัมมนาน่าสนุก : คู่มือสาหรับนักจัดสัมมนา. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
เอกสารวิชาสัมมนา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาน้ี ท่ีจัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังน้ี
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในห้องเรียน Microsoft Teams
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน email ผ่าน Line /Facebook ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการ
สื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังน้ี
2.1 การสังเกตการณ์สอนและบันทึก
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังน้ี
3.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้หา Best Practice กับอาจารย์หลักสูตรอื่นท่ีสอนวิชาเดียวกัน
3.2 การศึกษาหาเทคนิคและความรู้เพ่ิมเติมจากการเข้าร่วมสัมมนา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิในรายหัวข้อ ตามท่ีคาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิโดยรวมในวิชาได้ดังน้ี
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.2 ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธ์ิประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากข้ึน ดังน้ี
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรืองการประยุกต์ความรู้นี้กับงานวิจัย
หรือความก้าวหน้าของวงการอุตสาหกรรมที่เก่ียวข้องกับการออกแบบ