แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม

Architectural Design Concept

เรียนรู้เกี่ยวกับปัจจัย อิทธิผลและความเป็นมาในการออกแบบสถาปัตยกรรม เข้าใจแนวความคิด ปรัชญาและเกณฑ์ ที่ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม เข้าใจกระบวนการกำหนดแนวความคิดสู่การออกแบบงานสถาปัตยกรรม ผ่านกรณีศึกษาผลงานสถาปัตยกรรมที่สำคัญโดยเน้นตั้งแต่สมัยใหม่ถึงหลังสมัยใหม่ พัฒนาแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมได้
 นำข้อมูลจากประเมินผลการสอนโดยนักศึกษา และการผลการสอนใน มคอ 5 ของการเรียนการสอนครั้งที่ผ่านมา ทำการปรับปรุงซึ่งประกอบไปด้วย
1.คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงโดย
- เพิ่มคะแนนการเข้าชั้นเรียน (ตรวจเช็คการเข้าดูวิดิโอการสอนออนไลน์)
- เพิ่มคะแนนเรื่องจริยธรรมในแง่การไม่ลอกงานออกแบบของผู้อื่นมา (เน้นคะแนนในส่วนงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมี Critical thinking)
2. ความรู้
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ปรับปรุงโดย
- ปรับเปลี่ยนเนื้อหาหารเรียนการสอนให้สั้นลงในแต่ละครั้ง โดยแบ่งเป็นหัวข้อย่อยๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย
- เพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ Representation และ เน้นแนวคิดที่นำไปสู่ทักษะการปฎิบัติให้เห็นเป็นรูปธรรม
3. ทักษะทางปัญญา
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ปรับปรุงโดย
- ไม่มี
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปรับปรุงโดย
- ไม่มี
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ปรับปรุงโดย
- เน้นเรื่องการใส่แหล่งที่มาของเอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง
- เน้นเรื่องการแปลความเพื่อความเข้าใจ จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
6. ทักษะพิสัย
- ไม่มี
ศึกษากระบวนการการกำหนดแนวความคิดในการออกแบบ และการพัฒนาแนวความคิดสู่การออกแบบงานสถาปัตยกรรม โดยนำผลงานสถาปัตยกรรมในอดีตถึงปัจจุบันมาเป็นกรณีศึกษา
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ด้วยการแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน และใช้ Social Network เป็นช่องทางติดต่อปรึกษานอกเวลาเรียน
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- สร้างความเข้าในเรื่องระเบียบวินัย และ กฏกติกา ในการเรียนออนไลน์
- เน้นย้ำเรื่องวินัยในการเข้าเรียน (ศึกษาตัวตนเองออนไลน์) ให้เป็นประจำ สม่ำเสมอ
- เน้นย้ำความสำคัญของการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ผ่านการบรรยายที่ทำให้เห็นบทบาทของสถาปนิกที่มีหน้าที่ในการรับผิดชอบต่อสังคม คิดถึงผู้ใช้ที่เข้ามาในอาคาร ออกแบบให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาในส่วนของมนุษยวิทยาสถาปัตยกรรมและการทำงานแบบเป็นมืออาชีพ
- เช็คการเข้าดูบทเรียนออนไลน์
- การซื่อตรงต่อกระบวนการในการออกแบบ คิดเอง ไม่ลอกงานคนอื่นมา หรือหากได้รับแรงบันดาลใจมามีวิธีในการต่อยอดเพื่อพัฒนาให้เป็นของตนเอง
- ข้อสอบเพื่อเข้าใจความหมายของมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
- จัดการเรียนการออนไลน์ ที่นักศึกษาสามารถสอบถามหรือแสดงความคิดเห็นได้ตลอดเวลา 
- จัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง อัพเดทข้อมูลบรรยาย และใช้กรณีศึกษาที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน เป็นสื่อการสอนให้นักศึกษา
- ทำการบรรยายเรื่องบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างสถาปัตยกรรมและศาสตร์อื่นๆ
- ให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติเพื่อเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การทำได้จริง
 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ให้ Assignment ที่นักศึกษาต้องใช้กระบวนการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ
- การบรรยายปลายเปิด กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์
- แบบฝึกปฎิบัติเชิงออกแบบสร้างสรรค์ เพื่อดูวิธีการคิดอย่างเป็นระบบ 
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
- ผลงานการฝึกปฎิบัติในห้องเรียนของนักศึกษาเพื่อดูการประยุกต์ใช้ และการคิดเชิงตรรกะ และ สร้างสรรค์ และข้อสอบเพื่อแสดงข้อโต้แย้ง และเหตุผล
- มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- จัดการเรียนการสอนแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม
- สร้างข้อตกลง และ มารยาทการอยู่ร่วมกันในการเรียน
- สร้างบรรยากาศการเรียนแบบเปิดกว้าง ให้นักศึกษากล้าถาม ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ให้ความสำคัญต่อการโต้ตอบ ปัญหา หรือ คำถามของนักศึกษา ผ่าน Social media อยู่เสมอ 
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
- คะแนนการส่งงานและการเข้าร่วมฟังการบรรยายในแต่ละครั้ง
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- ฝึกทักษะการเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมให้สัมพันธ์กับเนื้อหาที่เลือกศึกษา  - ให้ Assignment ที่นักศึกษาต้องใช้กระบวนการสืบค้น ในการแก้ไขปัญหา
- แสดงให้เห็นแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เท่าทันโลก  - แสดงให้เห็นวิธีการทำ Design Research
- ประเมินจากการเลือกวิธีการนำเสนอผลงานและการวิธีการสืบค้นข้อมูล
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักรู้ในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม 1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2. มีีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3. มีีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BARAT107 แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - เช็คการเข้าดูบทเรียนออนไลน์ - การซื่อตรงต่อกระบวนการในการออกแบบ คิดเอง ไม่ลอกงานคนอื่นมา หรือหากได้รับแรงบันดาลใจมามีวิธีในการต่อยอดเพื่อพัฒนาให้เป็นของตนเอง - ข้อสอบเพื่อเข้าใจความหมายของมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม ตลอดภาคการศึกษา 15%
2 ความรู้ - ประเมินจากผลงานของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 ทักษะทางปัญญา - ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา - คะแนนการส่งงานและการเข้าร่วมฟังการบรรยายในแต่ละครั้ง ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา - คะแนนการส่งงานและการเข้าร่วมฟังการบรรยายในแต่ละครั้ง ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมินจากการเลือกวิธีการนำเสนอผลงานและการวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 ด้านทักษะพิสัย ไม่มี ไม่มี 0%
- Question of Perception : Phenomenology of Architecture  - Elements of Architecture : from form to place  - Disclosing Horizon  - Architecture and You : How to Experience and Enjoy Buildings  - Peter Zumthor Thinking Architecture  - Architecture as Experience  - Architecture and Dynamics  - Analyzing Architecture  - The Language of Space  - Architecture Form Space and Order  - Experiencing Architecture  - Design Drawing Experiences  - Graphic Thinking for Architects & Designer
- ปัตย์ ศรีอรุณ และ มานิตา ชีวเกรียงไกร (2560). การทดลองใช้สัญวิทยาในการเรียนการสอนวิชาแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม. การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 30 มีนาคม 2560  - Nicolas A., Pat S., Manita C., Peera J. (2016) Creative Habits. National and International Conference on Research and Design in Architecture and Related Fields. National Conference. Silapakorn University : 19-20 December 2016 : at Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre http://www.arch.su.ac.th/index.php/menu-photo9  - มานิตา ชีวเกรียงไกร และ ปัตย์ ศรีอรุณ (2559). การประยุกต์ใช้การเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานในการเรียนการสอนวิชาออกแบบสถาปัตยกรรม 4. เจดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่. การตีพิมพ์: วารสารวิชาการและเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://www.arc.cmu.ac.th/jed /สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  - ปัตย์ ศรีอรุณ และ มานิตา ชีวเกรียงไกร (2559). การผสานองค์ความรู้ในการพัฒนาฌาปนสถานสู่การเป็นพื้นที่ชุมชน. เจดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่. การตีพิมพ์: วารสารวิชาการและเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://www.arc.cmu.ac.th/jed /สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  - ปัตย์ ศรีอรุณ และ ปราง ศรีอรุณ (2558). ผู้ชมสนทนา : การเปรียบเทียบกลวิธีในการเล่าเรื่อง หอฝิ่นและบ้านฝิ่น จังหวัดเชียงราย. การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2558 การตีพิมพ์: Proceeding เผยแพร่ทางเว็บไซต์ http://www.arc.cmu.ac.th/nationalconference58/สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  - ปัตย์ ศรีอรุณ และ ปราง ศรีอรุณ (2558). ไม่อนุญาตให้เชื่อมต่อ : เรื่องเล่าที่กระจัดกระจายในพิพิธภัณฑ์ไทย กรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติแห่งหนึ่งในประเทศไทย. การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2558 การตีพิมพ์: Proceeding เผยแพร่ทางเว็บไซต์http://www.arc.cmu.ac.th/nationalconference58/สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  - ปัตย์ ศรีอรุณ (2554). Facebook Effect : การสร้างความเป็นสาธารณะในพื้นที่ส่วนตัว. มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง วัฒนธรรม ฉบับออกตัว. กรุงเทพฯ  - ปัตย์ ศรีอรุณ (2553). การซ้อนทับของพื้นที่ทางสังคมเสมือนและพื้นที่ทางสังคมกายภาพ : การศึกษากลไกปฎิสัมพันธ์ของร้านกาแฟ ให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย ในย่านนิมมานเหมินทร์ ด้วยทฤษฎีองค์ประกอบของพื้นที่. เอกสารสัมนาวิชาการ Netizen Marathon 2010. กรุงเทพฯ  - ปัตย์ ศรีอรุณ (2553). ความหมายของ “ปฎิสัมพันธ์” ใน ข่วงเฮือน และ Facebook. เอกสารสัมนาวิชาการ Netizen Marathon 2010. กรุงเทพฯ  - ปัตย์ ศรีอรุณ และ เช่น สันต์ สุวัจฉราพินันทร์ (2551). ถ้าจะพูดถึงการเปลี่ยนแปลงของเมืองเชียงใหม่. Hip Magazine. เชียงใหม่  - ปัตย์ ศรีอรุณ (2550). ลักษณะของข่วงเฮือนที่ส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมในชุมชน บ้านเด่นในเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ได้รับทุนอุดหนุนจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)  ปัตย์ ศรีอรุณ (2550). ตัวตนและความใฝ่ฝัน: สถาปัตยกรรมท้องถิ่นนิยมและสถาปัตยกรรรมทันสมัยนิยมเชียงใหม่. สาระศาสตร์ 50. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  - ปัตย์ ศรีอรุณ อภิโชค เลขะกุล และ สันต์ สุวัจฉราพินันท์ (2549). ข่วงเฮือนเลือนหาย: วิกฤตการณ์การสูญเสียพื้นที่กิจกรรมทางสังคมในหมู่บ้านสมัยใหม่ เชียงใหม่. สาระศาสตร์ 49.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไม่มี
- สรุปการเรียนการสอนปลายภาค
- แบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา 
- แบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
- ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจผู้สอนของนักศึกษา
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม กลางภาคเรียน
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม ปลายภาคเรียน
- ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจผู้สอนของนักศึกษา
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม กลางภาคเรียน
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม ปลายภาคเรียน
- ดำเนินการทบทวนทุกปีการศึกษาในกรณีที่พบปัญหา และทุก 5 ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสกอ.
- นำเสนอสรุปผลการสอนและการประเมินโดยนักศึกษาแก่ที่ประชุมหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาในปีการศึกษาถัดไป