ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 5

Interior Architectural Design 5

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอน กระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล หลักการและองค์ประกอบในการออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน การออกแบบสากล และงานระบบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสามารถบูรณาการหน้าที่ใช้สอยทั้งโครงการ ทำการวิเคราะห์โครงการ ศึกษากรณีศึกษาจริง จนถึงมีทักษะปฏิบัติการออกแบบอาคารสาธารณะประเภท ศูนย์การค้า พิพิธภัณฑ์ และโรงพยาบาล
ไม่มี
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในของอาคารสาธารณะประเภท สาธารณะ ประเภทศูนย์การค้า พิพิธภัณฑ์ และโรงพยาบาล โดยใช้กระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล หลักการและองค์ประกอบในการออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย  ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน  การออกแบบสากล  และงานระบบที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการหน้าที่ใช้สอยทั้งโครงการ ทำการวิเคราะห์โครงการ ศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาจริง
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิส่วนบุคคล การไม่คัดลอกแนวคิด ผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน การตกแต่งภายใน และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

1.1.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับมีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพ เช่น การไม่คัดลอกแนวคิด ผลงานการออกแบบ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
อภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับแนวคิด สไตล์ในการออกแบบประโยชน์ใช้สอยองค์ประกอบการออกแบบที่สำคัญ ต่างๆ ขั้นตอนการออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน มีความเข้าใจ แนวความคิด สไตล์ในการออกแบบ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การวิเคราะห์และจำแนกหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการออกแบบต่างๆ และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ตลอดจนเห็นความสำคัญ ของการมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
2.1.1    มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.1.2    สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1   บรรยายแนวคิด สไตล์ในการออกแบบ ประโยชน์ใช้สอยองค์ประกอบการ
ออกแบบที่สำคัญ ต่างๆ พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น แนวคิด ประโยชน์ใช้สอย และองค์ประกอบต่างๆ
2.2.2   บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นแนวความคิดสไตล์ในการ
ออกแบบหลักการ ทฤษฎีการออกแบบ และกระบวนการออกแบบต่างๆ
2.2.3   อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นแนวคิด การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ
2.2.4  กำหนดให้นักศึกษาการนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารพักอาศัยลักษณะพิเศษ
2.2.5มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
มีความสามารถหาข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินผล ตามหลักการและทฤษฏี และสไตล์ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารสาธารณะประเภท ศูนย์การค้า พิพิธภัณฑ์ และโรงพยาบาลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อใช้แก้ปัญหาที่ค่อนข้างซับซ้อนและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ มีทักษะออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายในอาคารสาธารณะประเภท ศูนย์การค้า พิพิธภัณฑ์ และโรงพยาบาล ได้อย่างเหมาะสม และการพัฒนารูปแบบสถาปัตยกรรมภายในที่มีความสร้างสรรค์ ตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบโครงงานพิเศษ และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้นักศึกษาทำที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
  3.2.2การนำเสนอข้อมูล อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นแนวความคิด ตามหลักการและทฤษฏีสไตล์ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารพักอาศัยลักษณะพิเศษ ที่เหมาะสม
  3.2.3   กำหนดให้นักศึกษาการนำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินผล ตามหลักการและทฤษฏี
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นการนำเสนอ การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา โครงการที่เหมาะสม
3.3.2   วัดผลจากการประเมิน การนำเสนอ แนวคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินผล
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1    สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น แนวคิด การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การ วิเคราะห์และจำแนกหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการออกแบบต่างๆ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา และนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1   สืบค้นข้อมูล ด้านประโยชน์ใช้สอยของสถาปัตยกรรมภายในอาคารพักอาศัยลักษณะพิเศษ
5.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล ให้ค้นคว้าศึกษา ทำรายงานและอภิปรายกลุ่ม เกี่ยวกับการวิเคราะห์ประโยชน์ใช้สอย และการสังเคราะห์ทางการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารสาธารณะประเภท ศูนย์การค้า พิพิธภัณฑ์ และโรงพยาบาลและนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการสื่อสารที่เหมาะสม
ประเมินตามผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น แนวคิด การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การ วิเคราะห์และจำแนกหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการออกแบบต่างๆ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา และนำเสนอรายงาน 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1 42021405 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 5
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม - ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ - มอบหมายและการร่วมกิจกรรม - ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ - ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1, 2-7,8,12-16 10
2 ความรู้ - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี - วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน - วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล 1, 2-7,8,12-16 35
3 ทักษะทางปัญญา - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี - วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน - วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 1, 2-7,8,12-16 35
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย - ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต - ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง 1, 2-7,8,12-16 10
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย - ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต - ประเมินผลงาน การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง - ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 1, 2-7,8,12-16 10
Francis D.K. Ching. Interior Design Illustrated. United States of America: Van Nostrand Reinhold, 1943
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
           4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
         5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ