ออกแบบอุตสาหกรรมเบื้องต้น

Introduction to Industrial Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ รวมทั้งมีทักษะที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  ทั้งนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สมัยใหม่ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.1.1 ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน
2.1.2 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างผลงาน ไทยและต่างชาติจากการเรียนการสอนแบบออนไลน์
2.2.2 ทำงานกลุ่มและเดี่ยว นำเสนอเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2.3.1 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
2.3.2 ประเมินผลงานปฏิบัติและกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.1.1 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.1.2 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างโดยใช้สื่อประกอบผ่านช่องทางการสอนออนไลน์
3.2.2 ปฏิบัติงานเดี่ยว
3.2.3 นำเสนอผลงาน พร้อมวิจารณ์และแนะนำ
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
3.3.2 พิจารณาจากงานปฏิบัติ และการนำเสนอรายเดี่ยว
3.3.3 สอบกลางภาคและปลายภาค
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
4.1.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษย์
4.2.1 จัดกิจกรรมรายเดี่ยว
4.2.2 การนำเสนอผลงานที่มอบหมาย
4.3.1 ประเมินจากความเอาใจใส่และมีส่วนร่วมในผลงานเดี่ยว
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือ การนำ เสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานเดี่ยว
5.2.2 นำเสนอข้อมูลและแหล่งที่มาของการค้นคว้า
5.3.1 ประเมินจากความสมบูรณ์และถูกต้องของผลงาน
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนองานออกแบบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 2.1 2.3 2.4 3.3 3.4 4.1 4.2 5.1 5.2
1 BAAID112 ออกแบบอุตสาหกรรมเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.1 - สอบกลางภาคเรียน - สอบปลายภาคเรียน 8, 16 10%, 15%
2 2.3.2 1.1.2 - ปฎิบัติงานออกแบบและพัฒนารายสัปดาห์ - การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65%
3 1.1.2 - การเข้าชั้นเรียนออนไลน์ - ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
- ชลธิศ ดาราวงษ์. การจัดการผลิตภัณฑ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส. 2558
- นิรัช สุดสังข์. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. โอเดียนสโตร์. 2549
- วัชรินทรื จรุงจิตสุนทร. หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: iDESIGN Publishing. 2550
- สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. การศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์. 2550
- สาคร คันธโชติ.วัสดุผลิตภัณฑ์. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการ.ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(โรเนียว). 2523
- อำนวย คอวนิช. อุตสาหกรรมไม้ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2523
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Pinterest Designboom
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา แบบประเมินความพึงพอใจหลังจากปฏิบัติงานท้ายภาคการศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 แต่งตั้งกรรมการหรือผู้สังเกตการสอนโดยสาขาวิชา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 จัดทำรายงานสรุปผลรายบุคคลหลังจากการปฏิบัติงานท้ายภาคการศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 วิเคราะห์ และวิพากษ์ผลงานจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาสาธิตและร่วมบรรยาย
5.4 จัดกิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่